ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การอภิวัฒน์สยาม 2475

เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มิถุนายน
2567
ความเปลี่ยนแปลงเชิงวัฒนธรรมกับการทำสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ เสนอมิติทางวัฒนธรรมหลังการอภิวัฒน์สยามผ่านงานวันชาติและรัฐพิธีฉลองรัฐธรรมนูญ และสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ผ่านศิลปะ-สถาปัตยกรรม และการสร้างความหมายของราษฎร
บทบาท-ผลงาน
19
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 4 ชี้ให้เห็นว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนเรื่องข้อเท็จจริงเรื่องการเป็นหัวหน้าคณะราษฎรของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2567
"หมุดคณะราษฎร" เป็นสัญลักษณ์การอภิวัฒน์ 2475 ที่รัฐพยายามควบคุม แต่กลับทำให้เกิดกระแสรื้อฟื้นความทรงจำนี้ในสังคม สะท้อนการต่อสู้ระหว่างรัฐและประชาชนในการกำหนดประวัติศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
15
มิถุนายน
2566
PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น.  ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์  
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2566
2 มกราคม 2566 111 ปี ชาตกาล "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" กับเรื่องราวชีวประวัติย่อนับตั้งแต่วัยเยาว์ตราบจนช่วงเวลาที่เคียงข้างผู้เป็นสามี "นายปรีดี พนมยงค์" รัฐบุรุษอาวุโส พร้อมกับเรื่องราวที่ยืนหยัดและยึดมั่นต่อหลักการความยุติธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2565
ห้วงเวลาก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ปรากฏความตื่นตัวของกลุ่มคนในสังคมไทยจำนวนไม่น้อยที่ปรารถนาให้ประเทศของพวกตนได้ปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญแทนที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยิ่งเฉพาะในกลุ่มของผู้ทำงานด้านกฎหมายเยี่ยงพวกทนายความแล้ว ก็จะแสดงออกความคิดเห็นและเคลื่อนไหวเรียกร้องให้บ้านเมืองมีสิ่งที่เรียกว่า “ประชาธิปไตย” อย่างแข็งขัน
Subscribe to การอภิวัฒน์สยาม 2475