ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการเสรีไทย

เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2568
พลตรี สมบูรณ์ ศรานุชิต โดยเป็นผู้วางแผนยุทธการร่วมกับขบวนการเสรีไทยในภาคเหนือ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยภายหลังกลับมีบทบาทในการก่อกบฏเสนาธิการปี 2491 เพื่อต่อต้านคณะรัฐประหาร เพื่อยึดมั่นในอุดมการณ์ "ทหารอาชีพ" จนถึงวาระสุดท้าย.
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
มิถุนายน
2568
ศ.วิจิตร ลุลิตานนท์ เน้นทำภารกิจบริหารและประสานงานขบวนการเสรีไทยภายในประเทศ เพื่อธำรงเอกราชและอธิปไตยในสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาทำหน้าที่เลขาธิการกองบัญชาการเสรีไทย ดูแลค่ายกักกันสัมพันธมิตร ส่งคนฝึกการรบ และประสานงานกับฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2568
สงวน ตุลารักษ์ เป็นสมาชิกคณะราษฎรที่ร่วมเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 และร่วมขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยหลังสงครามได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำจีน แต่ลาออกหลังรัฐประหารปี 2490 เพราะยึดมั่นในอุดมการณ์ประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
12
มิถุนายน
2568
รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ มีแนวคิดเศรษฐกิจที่เน้นความเป็นธรรม เสมอภาค และเอกราชของชาติ โดยสนับสนุนสหกรณ์สังคมนิยม การจัดสวัสดิการถ้วนหน้า และการใช้เทคโนโลยีพัฒนาเศรษฐกิจ ช่วงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
แนวคิด-ปรัชญา
11
มิถุนายน
2568
ขบวนการเสรีไทยที่ร่วมมือกับ OSS และ SOE เพื่อต่อต้านญี่ปุ่น โดยทำงานลับผ่านการสื่อสาร ข่าวกรอง และฝึกพลพรรคทั่วประเทศ ขณะที่ท่านปรีดีวางแผนจัดตั้งรัฐบาลนิยมสัมพันธมิตรในเวลาที่เหมาะสม
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2568
ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ หัวหน้าพลพรรคเสรีไทยในอุบลราชธานี ผู้เสียสละเพื่อชาติในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และมีบทบาทสำคัญในการวางแผนต่อต้านกองทัพต่างชาติ ด้วยความยึดมั่นในอุดมการณ์อย่างไม่ย่อท้อต่ออันตราย
แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2568
บทความวิเคราะห์บทเรียนจาก “สถานะสงครามโดยไม่ประกาศ” ระหว่างไทยกับเวียดนามเหนือในยุคสงครามเย็น โดยใช้ข้อเขียนของปรีดี พนมยงค์ เป็นแกนกลางสะท้อนหลักการเอกราช สันติวิธี และไม่ตกเป็นเครื่องมือของมหาอำนาจ ผ่านแนวคิด “สันติภาพเชิงรุก”
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2568
ปรีดี พนมยงค์มีบทบาทสำคัญในการผลักดันการเปลี่ยนผ่านอำนาจทางการเมืองหลังจอมพล ป. พิบูลสงครามลาออก และสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญ และยังเป็นแกนนำหลักในการประสานงานขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น
บทบาท-ผลงาน
1
มิถุนายน
2568
บทความวิเคราะห์ข้อพิพาทชายแดนไทย–กัมพูชา ณ ช่องบก โดยเน้นบริบททางประวัติศาสตร์ การเมือง และยุทธศาสตร์ร่วมสมัย พร้อมเสนอแนวทางสันติวิธีตามแนวคิดของปรีดี พนมยงค์ เพื่อธำรงอธิปไตยควบคู่สันติภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2568
วิเคราะห์ท่าทีของอังกฤษต่อประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเน้นความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์กับหลักเอกราชของชาติไทย เปิดเผยเบื้องหลังทางการทูตและการเจรจาลับระหว่างอังกฤษ สหรัฐฯ และไทย ที่หล่อหลอมอนาคตประเทศไทยหลังสงคราม
Subscribe to ขบวนการเสรีไทย