ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะกรรมการการเลือกตั้ง

แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2566
เมื่อพิจารณาถึงกฎหมายที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบัน มีกฎหมายหลายฉบับด้วยกันที่สร้างภาระให้กับภาคประชาชน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ ไม่ได้สร้างภาระให้กับประชาชนฝ่ายเดียว แต่ยังสร้างภาระให้กับหน่วยงานของรัฐด้วย รัฐบาลที่กำลังจะมีการจัดตั้งใหม่จึงสมควรจะยกเลิกกฎหมายที่เป็นอุปสรรคเหล่านี้โดยเร็ว
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2566
ประมวลและตั้งข้อสังเกตถึงการดำเนินงานของ "สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง" (กกต.) ในฐานะองค์กรผู้ควบคุมและดำเนินจัดการเลือกตั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 26 เมื่อปี พ.ศ. 2562 จนกระทั่งถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2566
อำนาจของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนทุกคนสามารถนำอำนาจเหล่านี้ มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อตรวจสอบ ส่งเสียงเรียกร้องในสิทธิที่ประชาชนทุกคนพึงมี พร้อมทั้งวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาล เพื่อสร้างสังคมที่มีความเป็นประชาธิปไตย ความเที่ยงธรรม และมีดุลยภาพแห่งอำนาจมากยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2566
“Electoral Justice: International IDEA Handbook” นำเสนอระบบความเที่ยงธรรมในการเลือกตั้งที่มีประสิทธิผล การยื่นและยุติการคัดค้านในการเลือกตั้งรวมทั้งการหยิบยกวิธีการต่างๆ ที่จะป้องกันข้อพิพาทและส่งเสริมสิทธิการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
Subscribe to คณะกรรมการการเลือกตั้ง