ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน
25
มิถุนายน
2565
24 มิถุนายน 2565 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุฯ เนื่องในวันครบรอบ 90 ปี แห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นำโดย สุดา - ดุษฎี พนมยงค์ ทายาทนายปรีดี พนมยงค์ พันตรีพุทธินาถ พหลพลพยุหาเสนา ทายาท พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ฯลณ
แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2565
“ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การพนันจึงเกิดขึ้น”  นั่นคือคำกล่าวที่เรามักจะแว่วยินกันอยู่บ่อยหน  หากอีกหลายบรรทัดที่ผมกำลังจะบอกเล่าต่อไป  เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการนัดประชุมวางแผนยึดอำนาจของกลุ่มผู้นำ คณะราษฎร ช่วงก่อนหน้าที่พวกเขาจะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญ เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งการนัดประชุมแต่ละครั้งมีลักษณะเข้าทำนอง “แม้ความคิดเห็นจะตรงกัน แต่การพนันก็เกิดขึ้น”
บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2565
ย้อนไปช่วงปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ก่อนหน้าที่กลุ่มของ “คณะราษฎร” จะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสังคมไทยเคยปรากฏกลุ่มของบุคคลหลายคณะที่ก่อตัวขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องความเป็นธรรมให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบจากการปกครองแบบระบอบศักดินา ณ บัดนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่านไปทำความรู้จักกับ “คณะ” ต่างๆ เหล่านั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2565
พ.ศ. 2565 นอกจากจะเป็นวาระ 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยามแล้ว ยังมีอีกวาระสำคัญ นั่นก็คือ 90 ปีแห่งการก่อตั้งสวนโมกขพลาราม 'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' ได้นำเสนอ คำสัมภาษณ์บางช่วงบางตอนถึงปฏิกิริยาของพุทธทาสภิกขุภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองและ "เทศนาเทอดระบอบใหม่" ซึ่งผู้เขียนสันนิษฐานว่าเป็นการเทศนาที่ท่านอาจารย์ได้แสดงขึ้นที่โรงเรียนสารภีอุทิศ เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2481
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
Subscribe to คณะราษฎร