คณะราษฎร
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
พฤษภาคม
2565
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชวนให้พิจารณาถึงเรื่องของ "ความยุติธรรม" ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ความยุติธรรมในเรื่องของตัวบทกฎหมาย หากแต่เป็น "ความยุติธรรมระหว่างช่วงเวลา" ที่เชื่อมโยงกับ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” (SDGs)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560) มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2565
1 เมษายน 2476 วันขึ้นปีใหม่ไทย แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกภายใต้ระบอบประชาธิปไตย นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2565
ผู้เขียนได้รวบรวมเรื่องราวของ 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ตั้งแต่กำเนิด - เครือญาติ, ที่มาของนามสกุลพระราชทาน, เรื่องนิมิตรประหลาดเมื่อครั้งเดินทางไปราชการที่ประเทศญี่ปุ่น, การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ในฐานะหัวหน้าคณะราษฎร, การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งระบอบประชาธิปไตย และ เชษฐบุรุษ เป็นต้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to คณะราษฎร
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ