ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะ ร.ศ. 130

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2567
การเกิดของคณะ ร.ศ. 130 มีจุดมุ่งหมายในการปกครองแบบตะวันตก ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยนั้น มีความเจริญทัดเทียมกับนานาประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
10
ธันวาคม
2566
นำเสนอเรื่องราวตลอดชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ที่ได้รับการหล่อหลอมและการก่อร่างความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ที่ถ่ายทอดออกมาในรัฐธรรมนูญที่ปรีดี พนมยงค์มีส่วนสำคัญในการร่างออกมาทั้ง 3 ฉบับตั้งแต่อภิวัฒน์ 2475
26
มิถุนายน
2566
ในวาระ 91 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดเสวนา PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักการเมือง นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมเป็นผู้เสวนาในครั้งนี้ อาทิ พล.ท.
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2566
อ่านประวัติศาสตร์ระหว่างบรรทัดกับเรื่องราวของ 'นายบุญเอก ตันสถิตย์' อีกหนึ่งสมาชิกสายพลเรือนที่เข้าร่วม "คณะ ร.ศ. 130" ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ห้วงวันวานคุณูปการของสมาชิกทุกคนในคณะ ร.ศ. 130 กลับประทับชัดเจนในความทรงจำของนายปรีดีในฐานะ "พวกพี่ๆ" เสมอมา
บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2566
วิบากกรรมทางการเมืองของ "คณะ ร.ศ. 130" เมื่อครั้งถูกล่ามโซ่ตีตรวนเสรีภาพในฐานะนักโทษทางความคิด พวกเขาต้องเผชิญการถูกกระทำในหลายรูปแบบ อาทิ การใช้แรงงานอย่างหนัก การถูกจองจำในห้องขังมืด ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ต้องโทษทนทุกข์ทรมานล่วงเลยกว่า 12 ปี 6 เดือน กับอีก 6 วัน ในเรือนจำ ยังคงเป็นห้วงยามที่ลุกโชนไปด้วยความหวังดังเช่นเมื่อวัยหนุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
บทบาท-ผลงาน
1
มีนาคม
2565
เหตุการณ์ ร.ศ. 130 เป็นความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ให้เป็นระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มทหารและปัญญาชนที่เกิดขึ้นในยุคต้นรัชกาลที่ 6
Subscribe to คณะ ร.ศ. 130