ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2564
ภารกิจแรก ๆ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 'ปรีดี พนมยงค์' ซึ่งไปตรวจเยี่ยมดินแดนอีสานบริเวณชายฝั่งแม่น้ำโขง ทั้งยังข้ามฟากไปเยือนฝั่งหัวเมืองลาวที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส อันเป็นภารกิจสำคัญซึ่งนำมาสู่ความเข้าใจสภาพการเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เพื่อกำหนดนโยบายบริหารประเทศให้สัมฤทธิ์ผลก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น
บทบาท-ผลงาน
9
พฤศจิกายน
2563
ค.ศ. 1956 เจ้านโรดม สีหนุ ได้พบกับนายปรีดี พนมยงค์ ที่กรุงปักกิ่ง หลังจากได้สนทนากันหลายต่อหลายเรื่อง ก่อนที่จะอําลาจากกัน เจ้านโรดม สีหนุ ในฐานะประมุขของรัฐกัมพูชาเอกราช ก็ได้กล่าวเชื้อเชิญนายปรีดี พนมยงค์ ให้ไปเยือนกัมพูชา
บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงแล้ว ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้เดินทางไปกับนายปรีดี ในคณะทูตสันถวไมตรี ที่เดินทางไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และดำเนินการให้นานาชาติสนับสนุนให้ไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2563
วันที่ 2 กันยายน 2488 ประธานโฮจิมินห์ได้ประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย
แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
Subscribe to ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ