จิตร ภูมิศักดิ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2566
ย้อนเส้นทางชีวิตของ จิตร ภูมิศักดิ์ โดยสังเขป พร้อมเรื่องราวความเชื่อมโยงระหว่างจิตร กับ นายปรีดี พนมยงค์ และ นายดิเรก ชัยนาม ด้วยเกร็ดเล็กๆ ทางประวัติศาสตร์ในกรณีนายดิเรกให้สัมภาษณ์ต่อสื่อถึงนายปรีดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงฝีไม้ลายมือของจิตรในฐานะนักหนังสือพิมพ์
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึง "Bangkok Art Biennale 2022" ภายใต้ธีม "CHAOS: CALM โกลาหล : สงบสุข" โดยรวบรวมงานศิลปะหลายแขนงจากทั่วโลก บอกเล่าเรื่องราวผ่านการตีความที่สอดแทรกความเป็นไปทางสังคมและสัจธรรมของมนุษย์ที่ต้องพบเจอทั้งโรคระบาด ความขัดแย้งทางการเมือง ตลอดจนภัยสงคราม เพื่อเปลี่ยนสภาพการณ์จากดิสโทเปียไปสู่ยูโทเปียในกาลข้างหน้า
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2564
ภายใต้ความขัดแย้งที่ลึกลงไปจนถึงความคิดความเชื่อ ระดับอุดมการณ์ของการปกครอง ดังที่ปรากฏอยู่ในสังคมไทยในเวลานี้ ผมไม่คิดว่าจะมีคนกลางเหลืออยู่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2564
ทุกข์ของชาวนานั้นเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดในสังคมไทย และเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2564
เมื่อสยามเริ่มเรียนรู้วิทยาการจากโลกตะวันตกในช่วง “การปฏิรูปประเทศ” สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งหลายวิทยาการที่นำเข้ามาจากโลกตะวันตกได้รับความนิยมชมชอบจากชนชั้นนำของสยามในเวลานั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to จิตร ภูมิศักดิ์
12
กันยายน
2563
'ทองปราย พันแสง' กล่าวถึงรอยด่างทางประวัติศาสตร์ กับอุปทานคติการเมือง หลังการอสัญกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2526