ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จีน

เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤษภาคม
2568
จากการที่ประเทศไทยให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเกิดความแตกแยกภายในของกลุ่มชาวไทยในต่างประเทศ อันได้แก่ กลุ่มในสหรัฐฯ จีน และอินเดีย และการเสียเปรียบจำยอมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น นำมาซึ่งการขบวนต่อต้านของเสรีไทยในเวลาต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ประเทศเพื่อนบ้านที่เปลี่ยนผ่านสู่ระบบใหม่หลังสงครามอินโดจีน โดยเตือนว่าไทยต้องปฏิรูปภายใน สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ และไม่ตกเป็นเครื่องมือของมหาอำนาจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
แนวคิด-ปรัชญา
16
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 โดยเสียดสีและยั่วล้อว่า ปัญหาการเมืองของรัฐบาลทั้งการโกง การคอรัปชั่นของผู้มีอำนาจ การค้าของเถื่อนเป็นการสร้าง ‘ทฤษฎีใหม่’ ในยุคนี้
แนวคิด-ปรัชญา
15
มีนาคม
2568
โครงการเกี่ยวเนื่องกับคลองไทย ขุดคอคอดกระ หรือ Landbridge ต้องศึกษาผลกระทบต้องรอบด้านและชัดเจน โดยควรเลือกเพียงโครงการเดียวเพราะประเทศไทยยังมีโครงการฯ อีกมากมายที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้เช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2568
การให้ความสำคัญต่อการวิเคราะห์ Mega Project ต้องสังเกตความคุ้มค่าหลายมิติที่ไม่ได้มีแค่เรื่องของตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ แต่รวมถึงภูมิรัฐศาสตร์ที่มีส่วนในการถ่วงดุลอำนาจต่อการลงทุนร่วมกันของหลายฝ่านที่ต้องคำนึงถึงบริบทอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2568
อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอประเด็นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ Landbridge ภายใต้ดุลยภาพแห่งอำนาจของจีนและสหรัฐอเมริกาโดยเชื่อมโยงกับข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2478 โดยเฉพาะเรื่องทุนเพื่อไม่ให้ชาติเสียเอกรราชและอธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2568
ซ่ง ชิงหลิง นักปฏิวัติและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสิทธิสตรีจีน เธอสานต่ออุดมการณ์ของซุน ยัตเซ็น ทั้งในทางการเมืองและยกระดับสถานะสตรีจีน ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ของเธอและครอบครัวสะท้อนบทบาทสตรีจีนสมัยใหม่ที่มีความกล้าหาญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มีนาคม
2568
เนื่องในวันสตรีสากลปี 2568 ขอเสนอชีวิตและงานของ "ฮัน ซูหยิน" นักเขียนหญิงลูกครึ่งจีน-เบลเยียม ผู้เป็นทั้งแพทย์และนักเคลื่อนไหวทางสังคมซึ่งได้ถ่ายทอดชีวิตรักและการต่อสู้ผ่านงานเขียนทางสังคม การเมือง และความเป็นหญิงอย่างลึกซึ้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มีนาคม
2568
บทสัมภาษณ์ต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในปี 2517 ที่สะท้อนทัศนะทางการเมือง และวิพากษ์วิจารณ์ระบบเผด็จการที่จำกัดสิทธิ์ของราษฎร ปัญหาทางเศรษฐกิจ และอิทธิพลของมหาอำนาจพร้อมกับสนับสนุนให้มีการปฏิรูปการเมืองและกองทัพ
Subscribe to จีน