ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ฉลบชลัยย์ พลางกูร

เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2566
ภายใต้ความมืดมิดและอับเฉา และสิ่งที่เป็นลบหลายประการในสังคม ชีวิตและพฤติการณ์ของ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ กลับเป็นประหนึ่งแสงสว่างอันจัดจ้าจุดหนึ่ง ในท่ามกลางความเลวร้ายอันมืดมิด ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้บำเพ็ญตนให้แก่ชาติบ้านเมือง พยายามแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม และขจัดภาวะความเสียเปรียบของคนส่วนข้างมากให้หมดไป
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
ชีวิต-ครอบครัว
10
กันยายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เล่าเรื่องราวความรัก ความห่วงใย และความพยายามของผู้เป็นพ่อ ในการศึกษาค้นคว้าและติดตามข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคมะเร็ง ส่งผ่านคำแนะนำรวมถึงกำลังใจเป็นถ้อยคำในจดหมายที่เขียนถึงปาล ภายหลังเมื่อบุตรชายต้องล้มป่วยจากโรคร้าย ด้วยความหวังที่อยากจะเห็นปาลหายขาดจากอาการป่วยและกลับมามีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำคุณประโยชน์เพื่อประเทศชาติได้อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2565
ในสถานการณ์ปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบกับสภาวะเงินเฟ้อ ทำให้อำนาจซื้อของประชาชนลดลง เนื่องจากราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น เงินจำนวนเท่าเดิมแต่สามารถซื้อสินค้าและบริการได้ลดลง
ชีวิต-ครอบครัว
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
Subscribe to ฉลบชลัยย์ พลางกูร