ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กุมภาพันธ์
2568
บทความนำเสนอประสบการณ์การเก็บข้อมูลภาคสนามในพื้นที่ความรุนแรงถึงตาย (deadly violence)โดยเน้นการปรับตัวและยุทธศาสตร์เอาตัวรอดของนักวิจัยในชายแดนใต้ของไทยหลังปี 2547 เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้สนใจศึกษาพื้นที่เสี่ยง
วันนี้ในอดีต
25
มกราคม
2568
ประวัติการทำงานสันติวิธีของศาสตราจารย์ ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ทั้งในด้านองค์กรสันติวิธี และในทางวิชาการ โดยมีผลงานสำคัญคือ คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 187/2546 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดคณะกรรมการยุทธศาสตร์สันติวิธี
9
กรกฎาคม
2567
หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีชาตกาลนายปรีดี พนมยงค์รัฐบุรุษอาวุโส นำเสนอแนวคิดเรื่อง "อภัยวิถี" สอดคล้องกับ วิถีชีวิตและวิถีการเมืองของท่านปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสําคัญที่ผลักดันให้เกิดภาวะสันติภาพในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2   ผู้เขียน : ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2543 จำนวนหน้า : 61 หน้า, ภาคผนวกพิเศษจำนวน 22 หน้า ISBN : 974-7833-52-2 สารบัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กรกฎาคม
2567
บทความนี้ศึกษาพัฒนาการองค์ความรู้เกี่ยวกับสันติวิธีและความไม่รุนแรงทางการเมืองไทยของศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ในทศวรรษ 2510-2550 โดยผลของความรุนแรงทางการเมืองไทยภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คือต้นธารที่ก่อให้เกิดองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสันติวิธี
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เขียนถึงงานศึกษาเรื่องสันติวิธีของปรีดี พนมยงค์เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ว่าไปไกลกว่าเรื่อง “ความเป็นจริงในประวัติศาสตร์” อย่างสงครามยุทธหัตถีคือมีทฤษฎีสันติภาพและสันติวิธีเข้ากับวิธีการศึกษาในสาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
Subscribe to ชัยวัฒน์ สถาอานันท์