ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชาติชาย ชุณหะวัณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
20
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ ผู้เขียนนอกจากจะวิเคราะห์กลุ่มพรรคการเมืองทั้งสองกลุ่มว่า นำเสนอนโยบายต่างประเทศที่มีจุดเน้นแตกต่างกันแล้ว ยังย้อนรำลึกถึงนโยบายของรัฐบาลบางชุดในอดีต
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
28
สิงหาคม
2566
อาเซียนยังไม่ได้สิ้นไรไม้ตอก อาเซียนยังคงมีแต้มต่ออย่างที่เคยใช้ในกรณีของความขัดแย้งในประเทศกัมพูชา เรื่องสมาชิกภาพในการขู่ เช่นเดียวกัน สามารถนำเรื่องแต้มต่อนี้ในการขับพม่าออกจากสมาชิกภาพอาเซียนนี้จากการประเทศพม่าไม่รักษาคำสัญญาที่ให้ไว้กับอาเซียนในหลายๆ กรณีที่เกิดขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2566
ค้นหาคำตอบจากหลักวิชาการทางกฎหมายมหาชนและรัฐธรรมนูญ โดยย้อนกลับไปสู่นิยามของ "นายกรัฐมนตรี" และ "ประธานาธิบดี" ตำแหน่งทางการเมืองที่ยึดโยงอย่างมีนัยสำคัญต่อรูปแบบการปกครองและอำนาจอธิปไตยของรัฐ พร้อมทั้งพิจารณาเหตุและผลของที่มาในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันสัมพันธ์ต่อกลไกของระบบตัวแทนจากประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
Subscribe to ชาติชาย ชุณหะวัณ