ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชาวนา

แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2565
จุดเริ่มต้นแห่งจิตสำนึกในการอภิวัฒน์สยามของนายปรีดี พนมยงค์นั้น เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วัยเยาว์ที่ถือกำเนิดมาในครอบครัวที่มีอาชีพชาวนา ได้ประสบชะตากรรมความยากลำบาก ได้เห็นชาวบ้านคนอื่นๆ ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการทำนา
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2565
“การถวายฎีกา” เป็นรูปแบบการเคลื่อนไหวที่สำคัญของราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตภาคกลางนับตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา กล่าวคือ เป็นรูปแบบที่ทั้งกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและไพร่ ต่างยอมรับซึ่งกันและกันว่าการถวายฎีกา คือ ช่องทางการเคลื่อนไหวที่ชอบธรรมอย่างหนึ่ง
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
บทบาท-ผลงาน
21
ตุลาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นผู้หนึ่งที่มองเห็นปัญหานี้ เขาใช้เวลาเพียง 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลง เริ่มต้นความพยายามแรกด้วยการเสนอให้มีการปฏิรูปที่ดิน
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
บทบาท-ผลงาน
26
สิงหาคม
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง แม้ประเทศไทยได้รับสันติภาพกลับคืนมา แต่ปัญหาในทางเศรษฐกิจก็ยังคงดำเนินต่อไป เรื่องสำคัญประการหนึ่งที่สืบเนื่องมาจากการเจรจาเพื่อรักษาสถานะเอกราชของไทยหลังสงคราม คือ การทำความตกลงสมบูรณ์แบบอังกฤษ และการที่ไทยจะต้องส่งข้าว (โดยไม่คิดมูลค่า) 1.5 ล้านตันให้กับอังกฤษ
บทบาท-ผลงาน
2
กรกฎาคม
2563
ความจําเป็นที่จะให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนในทางการเมืองเป็นเรื่องที่ตระหนักดี โดยผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกซึ่งประกาศใช้เมื่อปี 2475 บุคคลผู้นั้น ก็คือ อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2563
เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับแรกนี้ ปรีดี พนมยงค์เขียนขึ้นภายในระยะเวลาที่จำกัด และมุ่งหมายที่จะให้เค้าโครงการเศรษฐกิจนี้เป็นเพียงหลักการใหญ่เท่านั้น ในรายละเอียดการดำเนินการแต่ละเรื่องนั้นจะต้องมีการไปคิดและกำหนดวิธีการดำเนินการอีกทีหนึ่งภายใต้หลักการนี้
บทบาท-ผลงาน
22
มิถุนายน
2563
ในบทความนี้จะพาทุกท่านมาสู่เนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ โดยจะเริ่มจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี พ.ศ. 2472-2475 เพื่อทำความเข้าใจบริบทในการเขียนเค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี
Subscribe to ชาวนา