ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ซุนยัดเซ็น

เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2566
โฮจิมินห์ เชิญ นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยคณะติดตามเดินทางไปยังเวียดนาม การเยี่ยมเยือนในครั้งนั้นเป็นไปอย่างด้วยความชื่นมื่นระหว่างสองผู้อภิวัฒน์ ถึงแม้คราวนี้จะเป็นครั้งแรกที่บุรุษทั้งสองได้พบปะกัน ทว่ากลับอบอวลไปด้วยบทสนทนาที่ลื่นไหลและถูกคอ ส่งผลความสัมพันธ์อันดีของทั้งสองประเทศดำเนินมาจนกระทั่งปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
บทบาท-ผลงาน
19
มีนาคม
2566
อ่านประวัติศาสตร์ระหว่างบรรทัดกับเรื่องราวของ 'นายบุญเอก ตันสถิตย์' อีกหนึ่งสมาชิกสายพลเรือนที่เข้าร่วม "คณะ ร.ศ. 130" ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ห้วงวันวานคุณูปการของสมาชิกทุกคนในคณะ ร.ศ. 130 กลับประทับชัดเจนในความทรงจำของนายปรีดีในฐานะ "พวกพี่ๆ" เสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มีนาคม
2566
โฮจิมินห์กลับเข้าศึกษาต่อ ณ กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต พร้อมทั้งทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับสหายชาวเวียดนามคนอื่นๆ ที่กำลังศึกษาเช่นเดียวกัน ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส และผลของการสงบศึกชั่วคราวระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับก๊กมินตั๋ง เปิดโอกาสขยับย่นย่อให้การกอบกู้เอกราชของชาวเวียดนามเดินมาถึงในเร็ววัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2566
การผนึกกำลังของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามซึ่งมีแนวทางแตกต่างกันเข้ารวมเป็นหนึ่งเดียว ณ เกาะฮ่องกง เมื่อถูกทางการอังกฤษจับกุม ในขณะตกที่นั่งลำบากนี้เอง "มิสเตอร์แฟรงค์ ลูสบีย์" ทนายความสัญชาติอังกฤษจึงได้เสนอตัวช่วยเหลือในการต่อสู้ทางการศาลให้แก่โฮจิมินห์
บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
Subscribe to ซุนยัดเซ็น