ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ณภัทร ปัญกาญจน์

บทสัมภาษณ์
29
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปีชาตกาล หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ผู้เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้ผ่านเหตุการณ์สำคัญมากมาย ที่ทำให้ชีวิตต้องพลิกผลันและได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ จนนำไปสู่การสร้างหอสมุดดำรงราชานุภาพ
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2566
ศ.พิเศษ หิรัญ รดีศรี ศิษย์ ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 8 ร่วมพูดคุยถึงวันวานและย้อนความทรงจำในรั้ว ต.ม.ธ.ก. เนื่องในวาระ 86 ปี การก่อตั้ง ต.ม.ธ.ก. 23 มีนาคม 2480
บทสัมภาษณ์
31
สิงหาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้รับเกียรติจาก 'ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์' บุตรชายคนสุดท้องของ 'คุณอนันต์ จินตกานนท์' อดีตสมาชิกขบวนการเสรีไทยในสหรัฐอเมริกา ร่วมพูดคุยถึงเรื่องราวความทรงจำ ครอบครัว และชีวิตการทำงานของคุณพ่อและคุณแม่ กับบทบาทหน้าที่ในขบวนการเสรีไทย ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2565
เนื้อหาในบทความนี้ ได้รวบรวมฎีกาต่างๆ ที่บอกถึงความทุกข์ยาก ถูกเอารัดเอาเปรียบของชาวนาและราษฎรไทยบนแผ่นดินสยาม เมื่อครั้งสยามประเทศยังปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งในเรื่องความเป็นอยู่ และสภาพเศรษฐกิจในเวลานั้น เรื่องเหล่านี้เองเป็นสาเหตุใหญ่ซึ่งเป็นที่มาของการอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2565
“เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในช่วงต้นว่าเป็นการนำแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์โซเวียตมาใช้ในประเทศไทย  แต่ทว่าเมื่อพิจารณารายละเอียดของเนื้อหาในเค้าโครงการเศรษฐกิจหลายๆ หัวข้อประกอบกับคำชี้แจงแล้วจะเห็นได้ว่า เค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น มิได้เป็นคอมมิวนิสต์ แต่ประกอบไปด้วยแนวคิดทางเศรษฐกิจจากหลายๆ สำนัก ในทางกลับกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติของ 'จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์' ที่ถูกนำมาใช้ในเวลาต่อมาในประเทศไทยนั้น กลับไม่ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะเมื่อย้อนกลับไปพิจารณาในบริบทของการเกิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง ‘รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ’
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
สิงหาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” สิ้นสุดลง ปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2564
พ.ศ. 2489 ได้มีการตั้งชื่อ “นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า” หรือ “นกเขียวลออ” โดยสถาบันสมิธโซเนียน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนกชนิดนี้ถูกค้นพบโดย ‘เฮอร์เบิร์ต จี. เด็กแนน’
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2564
ถึงแม้วันนี้ “หมุดคณะราษฎร 2475” และ “หมุดคณะราษฎร 2563” ได้ถูกทำให้สาบสูญไปแล้วก็ตาม แต่นั่นก็หาใช่ว่าจะสามารถพังทลายอุดมการณ์ของผู้ที่มีใจรักประชาธิปไตยลงไปได้ เพราะหมุดหมายเป็นเพียงสัญลักษณ์ เป็นเพียงวัตถุที่ใครก็ตามสามารถทำให้เคลื่อนที่ได้ตามแต่ใจปรารถนา ถ้าหมุดหมายที่หายไปจะหมายถึงอุดมการณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 สิ้นสุดลง ได้เกิดการเริ่มต้นของปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมคณะผู้ก่อการฯ ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ ซึ่งได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน
Subscribe to ณภัทร ปัญกาญจน์