ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ณัฐพล ใจจริง

แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2565
“เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในช่วงต้นว่าเป็นการนำแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์โซเวียตมาใช้ในประเทศไทย  แต่ทว่าเมื่อพิจารณารายละเอียดของเนื้อหาในเค้าโครงการเศรษฐกิจหลายๆ หัวข้อประกอบกับคำชี้แจงแล้วจะเห็นได้ว่า เค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น มิได้เป็นคอมมิวนิสต์ แต่ประกอบไปด้วยแนวคิดทางเศรษฐกิจจากหลายๆ สำนัก ในทางกลับกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติของ 'จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์' ที่ถูกนำมาใช้ในเวลาต่อมาในประเทศไทยนั้น กลับไม่ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะเมื่อย้อนกลับไปพิจารณาในบริบทของการเกิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง ‘รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ’
บทบาท-ผลงาน
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ
Subscribe to ณัฐพล ใจจริง