ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทวี บุณยเกตุ

เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
แนวคิด-ปรัชญา
5
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงความคิดและทัศนะของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่ยังคงต่อการศึกษาในทางวิทยาศาสตร์และในทางสงคราม และการรับรู้ของรัฐบาลไทยและการจัดการในด้านพลังงานนิวเคลียร์
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ บันทึกเรื่องราวบอกเล่ารัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 พร้อมทั้งรายละเอียดบทบัญญัติสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2566
เรื่องราวของประเทศไทยในช่วงภาวะการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยผู้เขียนได้หยิบยกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดอันร้ายแรงในการที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามอันเป็นสิ่งที่ละเมิดต่ออำนาจนิติรัฐภายในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
Subscribe to ทวี บุณยเกตุ