ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทวี บุณยเกตุ

บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
บทบาท-ผลงาน
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
บทบาท-ผลงาน
30
ตุลาคม
2563
"ที่กล่าวมานี้ เพียงแต่แสดงความหวังให้ท่านถึงฟิวเจอร์หรืออนาคตของเราว่าไม่มืดมน พอมองเห็นแสงสว่าง" -- ปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
Subscribe to ทวี บุณยเกตุ