ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2563
นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน 2452 - 4 มีนาคม 2492)  
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
สิงหาคม
2563
อ่านเรื่องราวชีวิตของขุนพลภูพาน 'เตียง ศิริขันธ์' ได้จากข้อเขียนจาก 'นิวาศน์ ศิริขันธ์' ภรรยาของเขา ในบทความนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2563
“หัวเมืองไม่ได้รับการบำรุงอย่างใดเลย ปล่อยตามธรรมชาติ แต่มองดูมณฑลชั้นในโดยเฉพาะจังหวัดพระนคร จะเห็นว่าถูกบำรุงอย่างฟุ่มเฟือย ในเมื่อเทียบกันข้อนี้ชาวหัวเมืองได้พร่ำร้องมานานนักหนาแล้ว”
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้าขอส่งผู้แทนมาพบท่าน เพื่อขอให้ท่านรับรองรัฐบาลพลัดถิ่นที่เราจะตั้งขึ้นในดินแดนกลุ่มประเทศสัมพันธมิตร เพราะมาตรการนี้จะเป็นหนทางเดียวที่จะกระตุ้นคนไทยให้หลุดพ้นจากการรุกรานของญี่ปุ่น”
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้ามีเลือดนักสู้อย่างพร้อมบูรณ์ และเตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อการต่อสู้ และได้เรียนรู้ไว้ว่าจะสู้จนโลหิตหยดสุดท้าย ข้าพเจ้าจะต้องรักษาคำพูดประโยคนี้ไว้อย่างมั่นคง”
บทบาท-ผลงาน
2
มิถุนายน
2563
คำนำ ผลงานของท่านปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ที่เป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองนั้นมีมากมาย และมีผู้เขียนเผยแพร่ไว้มาก แต่ผลงานของท่านเกี่ยวกับการริเริ่มเสริมสร้างอำนาจทางการคลังของรัฐสภา ซึ่งเป็นผลดีต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยังไม่มีใครเขียนมาก่อน เนื่องจากเป็นผลงานที่อยู่ในมุมอับ คือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคการคลังและกฎหมายการคลัง ซึ่งโดยธรรมชาติเป็นเรื่องที่คนทั่วไปเข้าใจยากและเข้าไม่ถึง
Subscribe to ทองอินทร์ ภูริพัฒน์