ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2565
เริ่มต้นจากการเดินทางไปสู่ค่าย “สนามบินเต่างอย” เทือกเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร เนื่องจากขบวนการเสรีไทยเป็นความลับอย่างยิ่งยวด การที่จะเดินทางเข้าค่ายเต่างอย จังหวัดสกลนครได้ จะต้องมีคนแนะนำหรือนำเข้าไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ธันวาคม
2564
ท่าแขกเป็นเมืองเอกของแขวงคำม่วน ตั้งอยู่ริมฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงจังหวัดนครพนมฝั่งไทย ทางกายภาพแขวงคำม่วนใหญ่กว่าเขตปกครองระดับจังหวัดของประเทศไทยเล็กน้อย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ธันวาคม
2564
หากจะกล่าวถึงการที่ประเทศไทยสามารถผ่านพ้นช่วงวิกฤตจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้ และดำรงคงไว้ซึ่งเอกราช มิอาจปฏิเสธได้ว่าส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเรามี "ขบวนการเสรีไทย"
บทบาท-ผลงาน
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2564
ถ้าเราสามารถหยุดยั้งการนิรโทษกรรมคนที่กระทำผิดสังหาร และสามารถใช้กฎหมายสำหรับผู้กระทำผิดได้ ก็จะเป็นการช่วยไม่ให้เกิดเหตุการณ์ครั้งนี้ซ้ำรอยขึ้นอีก
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2564
เหตุการณ์สังหาร ‘4 รัฐมนตรี’ ซึ่งทั้งหมดมีความใกล้ชิดกับปรีดี พนมยงค์ นับเป็นการฆาตกรรมทางการเมืองที่อื้อฉาวที่สุดครั้งหนึ่ง และเป็นครั้งแรกๆ ที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดของสังคมไทยในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
สิงหาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” สิ้นสุดลง ปฏิบัติการกวาดล้างและจับกุมผู้เห็นต่างทางการเมืองได้เริ่มต้นขึ้น
Subscribe to ทองอินทร์ ภูริพัฒน์