ทองเปลว ชลภูมิ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2567
ทองเปลว ชลภูมิ เป็นนักการเมืองที่มีอุดมการณ์ในประชาธิปไตยอย่างแรงกล้า และได้ต่อสู้เรื่อยมาในทางการเมือง จนกระทั่งต้องจบชีวิตจากการถูกสังหารโดยรัฐบาลฝ่ายเผด็จการ กับอีก 3 รัฐมนตรี แต่นาม "ทองเปลว" ยังคงถูกกล่าวถึงอยู่เสมอ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2566
ความอยุติธรรมในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 คดีดังกล่าวมิเพียงแต่สั่นสะเทือนต่อความรู้สึกของปวงชนชาวไทยในช่วงเวลานั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2566
คำพิพากษาศาลฎีกาในคดีสังหารอดีต 4 รัฐมนตรี เนื่องในวาระ 74 ปีสังหารโหด ณ ทุ่งบางเขน ซึ่งบอกเล่าปากคำ คำให้การ รวมไปถึงลำดับเหตุการณ์ในการสังหารเหยื่อทั้ง 4 รายอย่างทารุณ เมื่อคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ทองเปลว ชลภูมิ
5
ธันวาคม
2564
ดิฉันรู้จักคุณเตียงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2476 เมื่อดิฉันไปเข้าเรียนอักษรศาสตร์ที่ ม.จุฬาลงกรณ์ ตอนนั้นคุณเตียงเรียนจบไปหลายปีแล้ว ตั้งแต่ครั้งที่แผนกอักษรศาสตร์ยังไม่มีปริญญา ปีที่ดิฉันไปเข้านั้นดูเหมือนจะเป็นปีแรกที่เขาตั้งปริญญาขึ้น เพื่อนๆ คุณเตียงกลับมาเรียนต่อหลายคน คุณเตียงไม่ได้มาเรียน (เข้าใจว่าเริ่มยุ่งกับการเมือง) แต่ก็ได้แวะวนมาเยี่ยมเพื่อนๆ ที่จุฬาฯ เสมอ และเมื่อมีงานเลี้ยงของคณะอักษรศาสตร์ก็มาร่วมด้วยไม่เคยขาด คุณเตียงเป็นคนใจกว้าง รักหมู่คณะเป็นยอด เพื่อนๆ จึงรักเธอมากทุกคน เพื่อนเหล่านี้เป็น น.ร.หญิงหลายคนที่มาจาก ร.ร. ราชินี ร.ร.