ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
ตุลาคม
2567
การแต่งตั้งผู้นำทางการรบของผู้ก่อการในเหตุการณ์กบฏบวรเดช นำไปสู่ข้อถกเถียงทางประวัติศาสตร์ โดยใช้หลักฐานผลงานที่บันทึกเกี่ยวกับเหตุการณ์กบฏบวรเดช
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
12
พฤษภาคม
2566
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เป็นวาระ 123 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกคุณูปการต่างๆ ของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย โดยในเวลา 08.00 น. ได้เริ่มพิธีทำบุญแด่นายปรีดี พนมยงค์  
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.” พุทธทาสภิกขุ
Subscribe to นริศ จรัสจรรยาวงศ์