ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประกันสังคม

แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤศจิกายน
2567
กองทุนประกันสังคมเป็นเสาหลักของระบบสวัสดิการสังคมของประเทศ จากข้อวิตกกังวลอนาคตของกองทุนชราภาพจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินออกแบบการแก้ไขปัญหาและปฏิรูปการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืนของระบบประกันสังคมในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2567
เปลื้อง วรรณศรี วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 ว่ามีลักษณะทอดทิ้งประชาชน ในนิตยสารรัฐบุรุษ ฉบับวันเกิดปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2493
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2567
นโยบายและแนวคิดเศรษฐกิจสวัสดิการสังคมของปรีดี พนมยงค์ ปรากฏทันทีภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 ในหลัก 6 ประการ ตามประกาศคณะราษฎร และนำมาสู่การปฏิญาณในรัฐสภา วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชรเสนอว่า นายปรีดีเป็นบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สังคมไทยที่มีแนวคิดในด้านสวัสดิการสังคม
บทสัมภาษณ์
20
ธันวาคม
2566
PRIDI Interview : เลือกตั้งกรรมการประกันสังคม อนาคตรัฐสวัสดิการไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ตัวแทนจากทีมประกันสังคมก้าวหน้าถึงความสำคัญของการเลือกตั้งกรรมการประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2566
สรุปสาระสำคัญภายในงาน“ เลือกตั้งคณะกรรมการประกันสังคม ปฏิรูปอะไร? อย่างไร?” เมื่ออังคารที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมประภาศน์ อวยชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
แนวคิด-ปรัชญา
11
กรกฎาคม
2566
ความเข้าใจที่แตกต่างของคนหลายรุ่นต่อรัฐสวัสดิการ” ทบทวนถึงความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ เพื่อทำให้เห็นมุมมองว่าคนในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่แตกต่างกันเช่นไร และด้วยเหตุอันใดบุคคลในแต่ละช่วงวัยถึงมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเช่นนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2564
ตัดตอนมาจาก เวทีวิชาการการนำเสนองานวิจัยและบทความ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า” ข้อเสนอนโยบายการเข้าถึงสวัสดิการสังคม และ สุขภาวะ หัวข้อ “ประกันสังคมและกฎหมายแรงงาน” โดย รศ.ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
Subscribe to ประกันสังคม