ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประกาศคณะราษฎร

บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2567
นโยบายและแนวคิดเศรษฐกิจสวัสดิการสังคมของปรีดี พนมยงค์ ปรากฏทันทีภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 ในหลัก 6 ประการ ตามประกาศคณะราษฎร และนำมาสู่การปฏิญาณในรัฐสภา วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชรเสนอว่า นายปรีดีเป็นบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สังคมไทยที่มีแนวคิดในด้านสวัสดิการสังคม
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
แนวคิดราษฎรของปรีดี พนมยงค์ โดยได้เปรียบเทียบกับแนวคิดราษฎรก่อนและหลังการอภิวัฒน์สยาม และแสดงให้เห็นว่าราษฎรของปรีดีมีความเชื่อมโยงกับการที่ราษฎรมีสิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพซึ่งแตกต่างจากแนวคิดราษฎรก่อนการอภิวัฒน์
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
บทสัมภาษณ์
29
มีนาคม
2564
เย็นวันนี้ ทีมบรรณาธิการของเรามีนัดสัมภาษณ์กับ ลุงแมว พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนาบุตรคนที่ 4 ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผู้ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นหัวหน้าคณะราษฎร หนึ่งในสี่ทหารเสือผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475  เมื่อถึงเวลานัดหมาย เราพร้อมกันที่บ้านทาวน์เฮ้าส์ หลังหนึ่งซึ่งอยู่ห่างออกจากชานเมืองไปไม่ไกลนัก เจ้าของบ้านดวงหน้ายิ้มแย้มสดใสยืนรอต้อนรับพวกเราอยู่ที่หน้าประตูบ้านด้วยความเป็นกันเอง ก่อนเชื้อเชิญกันเข้ามานั่งที่โต๊ะรับรองภายในบ้าน ลุงแมวตระเตรียมทั้งขนมและน้ำให้พวกเราอย่างเต็มที่
บทบาท-ผลงาน
14
ธันวาคม
2563
ปฐมรัฐธรรมนูญฉบับนี้นั้นเป็นรัฐธรรมนูญที่อาจารย์ปรีดีได้ร่างขึ้นด้วยตนเอง รัฐธรรมนูญได้บรรจุไว้ซึ่งความคิดและความใฝ่ฝันของนักกฎหมายหนุ่มคนหนึ่งในขณะนั้น
Subscribe to ประกาศคณะราษฎร