ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

แนวคิด-ปรัชญา
24
สิงหาคม
2567
คำว่า “เล่นการเมือง” ในมุมมองของสังคมไทยมักถูกนำมาใช้งานในความหมายที่กว้างขวาง จนทำให้ก่อเกิดการตีความที่ผิดเพี้ยนไปมากมายต่อผู้ที่ไม่ได้มีบทบาทเป็นนักการเมืองโดยตรง เพียงแค่เขาเหล่านั้นสนใจความเป็นไปของการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2567
กลไกประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่เหล่านักการเมืองควรจะยึดถือเอาไว้ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับระบอบทางการปกครองที่ผู้มีอำนาจสามารถก่อร่างสร้างตัวตนแห่งความชั่วร้ายทางการเมืองขึ้นมาทำร้ายคู่แข่งทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
สิ่งสำคัญสำหรับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยคือเป้าหมายร่วม ซึ่งเกิดจากจินตนาการและความเชื่อว่าประเทศนี้เป็นของประชาชน ดังนั้น แม้จะมีวิธีการและจุดยืนที่ต่างกัน แต่หากมีจินตนาการ ความเชื่อ และเป้าหมายเดียวกันก็จะสามารถขับเคลื่อนสู่ชัยชนะได้
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
พัฒนาการประชาธิปไตยไทยเหมือนกราฟ ขึ้นลงตลอด 92 ปี เคยถึงจุดสูงสุดแต่ก็ตกต่ำลงมา ศิธาเปรียบการเมืองไทยเป็น “ต้นไม้ประชาธิปไตยทาบกิ่งเผด็จการ” ที่มีเอกภาพของคนกระหายอำนาจมารวมกัน ขบวนการประชาธิปไตยจึงต้องเป็นเอกภาพในอุดมการณ์และเจตนารมณ์
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2567
‘ความเห็นแตกต่าง’ เป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างประชาธิปไตย และ ‘ระบอบประชาธิปไตย’ นั้น อาจเป็นโครงการที่ไม่สิ้นสุด แม้จะผลักดันให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยในแง่หลักการพื้นฐานได้แล้วก็ตาม แต่ย่อมจะเกิดความต้องการอื่นๆ ตามมาอย่างลึกซึ้งและซับซ้อนขยายจากพรมแดนแห่งหลักการพื้นฐานทางประชาธิปไตย
25
มิถุนายน
2567
ในวาระ 92 ปี อภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์จัดงานเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “เอกภาพขบวนการประชาธิปไตย สู่ ประชาธิปไตยสมบูรณ์ : จากบทเรียน 2475 สู่ อนาคต” เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณูปการของการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 และศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ผู้มีส่วนสำคัญในการอภิวัฒน์สยาม อันนำมาสู่การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2567
ครอง จันดาวงศ์ เป็นผู้นำชาวนาดงพระเจ้าเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกประหารชีวิตปี 2504 หลังจากนั้นชาวนาจำนวนมากหนีเข้าป่าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ เขตดงพระเจ้า จึงเป็นจุดเริ่มต้นการต่อสู้ของพคท. ในอีสาน
บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2567
บทความนี้วิเคราะห์แนวคิดของปรีดี พนมยงค์ในการปฏิรูประบบการปกครองท้องถิ่นหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระจายอำนาจและให้ท้องถิ่นมีสิทธิในการปกครองตนเอง แต่ก็ยังมีข้อจำกัดในทางปฏิบัติ
Subscribe to ประชาธิปไตย