ประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ย้อนรำลึกสายธารการต่อสู้เพื่อระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้ได้เน้นย้ำถึงความสำคัญในการรักษาชัยชนะของประชาชนจากผลการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา เพื่อสถาปนากลไกทางรัฐสภาให้เป็นไปตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย พร้อมข้อเสนอ "5 ก้าวเพื่อรักษาชัยชนะของประชาชน" และ "ข้อเสนอความร่วมมือในการปกป้องประชาธิปไตย 5 ประการ"
ข่าวสาร
26
มิถุนายน
2566
ในวาระ 91 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดเสวนา PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักการเมือง นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมเป็นผู้เสวนาในครั้งนี้ อาทิ พล.ท.
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2566
อำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ทำการแทนรัฐบาลกลางในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนลักษณะการบริหารบางประการ และอำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ผู้แทนกระทรวงทบวงการซึ่งได้ประจำอยู่ตามมณฑลต่างๆ ภายในรัฐ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ประชาธิปไตย
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น