ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตยสมบูรณ์

แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2567
ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ ประกอบด้วย ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2567
แล ดิลกวิทยรัตน์ กล่าวถึงอุดมการณ์ของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองว่าอยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย และเสนอแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ไว้ว่าต้องประกอบด้วย 3 แนวทาง คือประชาธิปไตยทางการเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยทางสังคม
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ วิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 ว่ายังไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย เสนอให้ประชาชนเลือกวุฒิสภา รัฐสภาควบคุมการส่งกำลังทหารเข้า-ออกประเทศ พร้อมเสนอแนวคิดให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2566
ปรัชญาของความรู้และความหมายของ “วิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย” ข้อควรพึงพิจารณา คำนึงถึง รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์ถึงเผด็จการและการร่างรัฐธรรมนูญปี 59-60 ที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
ตุลาคม
2566
การต่อต้านเผด็จการนั้นไม่ใช่เพียงการต่อสู้ทางกายภาพเท่านั้น หากแต่ยังเป็นการต่อสู้ทางความคิดและจิตวิญญาณด้วย ฝ่ายต่อต้านจึงต้องรู้จักฝ่ายเผด็จการอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านดีและด้านร้าย
แนวคิด-ปรัชญา
3
ตุลาคม
2566
คำอธิบาย ความหมาย รวมไปถึงบริบทของคำว่าประชาธิปไตยที่ปรากฏในสังคมไทย ทั้ง “ประชาธิปไตยส่วนขยายต่างๆ ” รวมไปถึง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ที่นายปรีดี พนมยงค์ได้เสนอไว้เป็นอุดมการณ์และแนวทางที่ท่านยึดถือยึดมั่นในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
Subscribe to ประชาธิปไตยสมบูรณ์