ประชาธิปไตยสมบูรณ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
กันยายน
2565
การประเมินระดับประชาธิปไตยโดย Democracy Index ได้อาศัยตัวชี้วัดหลายเรื่อง โดยมีจุดร่วมสำคัญอยู่ใน 5 ประเด็น ได้แก่ กระบวนการเลือกตั้ง บทบาทของรัฐบาล การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง และเสรีภาพของพลเมือง ผลที่ตามมา คือ ในกลุ่มประเทศที่ได้รับการเมินให้เป็น ประชาธิปไตยสูง นั้น ส่วนใหญ่ใช้แนวทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย
ข่าวสาร
26
กันยายน
2565
19 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการสถาบันปรีดี พนมยงค์ รับมอบภาพวาด "รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ลูกหลานชาวนาผู้รักซึ่งความยุติธรรม" ผลงานโดยนายมงคล โคตรชาลี ศิลปินอิสระ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2565
เมื่อ ปรีดี พนมยงค์ ก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งแรกๆ ที่ปรีดีให้ความสำคัญ คือ การสานต่อเจตนารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ประชาธิปไตยสมบูรณ์
20
พฤษภาคม
2565
ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ฝ่ายนโยบาย กล่าวถึง "เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน" นั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับหลายๆ เรื่อง โดยขึ้นอยู่กับว่าจะหยิบเป้าหมายดังกล่าวมาพิจารณาในแง่มุมใด และการพัฒนาที่ยั่งยืนจะไม่เกิดขึ้น หากปราศจากประชาธิปไตยสมบูรณ์