ประชาธิปไตยสมบูรณ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
ผศ.ชล บุนนาค กล่าวถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างแผนการพัฒนาที่ยั่งยืนกับประชาธิปไตยสมบูรณ์ โดยหลักการประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดี พนมยงค์นั้น สอดคล้องกับ SDGs เป้าหมายที่ 16 ที่ว่าด้วยเรื่องการมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
ข่าวสาร
19
พฤษภาคม
2565
ตามประกาศเรื่อง ประกวดบทความชิงรางวัล “ทุนปาล พนมยงค์” ประจำปี 2565 หัวข้อ ‘มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์’
บัดนี้ คณะกรรมการตัดสินประกวดบทความชิงรางวัล "ทุนปาล พนมยงค์" ได้พิจารณาบทความที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 6 ราย แล้ว ปรากฏว่ามีผู้สมควรได้รับรางวัลดังนี้
รางวัลชนะเลิศ เป็นเงิน 15,000 บาท
นายอติรุจ ดือเระ ชั้นปี 4 คณะรัฐศาสตร์
รางวัลรองชนะเลิศ เป็นเงิน 10,000 บาท
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2565
ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกล่าวถึง “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” หรือ SDGs เป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปแบบของชื่อกิจกรรม งานเสวนา และการกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ ในการเปิดงานของหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐต่างๆ[1] ตามวาระและโอกาส อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นเรื่องที่ถูกกล่าวถึงมากขึ้นในประเทศไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2564
ประวัติศาสตร์สากลแสดงให้เราเห็นว่า ประเทศส่วนใหญ่ของโลก ก็ได้เคยมีระบอบประชาธิปไตยแตกหน่อขึ้นแล้ว แต่มาสูญหายไปชั่วคราวหลังสมัยกรีกและโรมันล่มสลาย ภายใต้ยุคมืดของยุโรป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
18
สิงหาคม
2564
นโยบายที่สำคัญที่ท่านปรีดี พนมยงค์ได้วางไว้ ก็คือเรื่องของนโยบายต่างประเทศที่จะต้องอยู่บนหลักของเอกราชและอธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2564
เมื่อจะกล่าวถึงความคิดของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการก่อตัวของสิ่งที่ท่านเรียกว่า “จิตสำนึก”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
พฤษภาคม
2564
10 ผลงานชิ้นสำคัญของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น คืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรบ้าง อ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ในบทความนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
พฤษภาคม
2564
บุคคลสำคัญหนึ่งๆ มักถูกอ้างอิงในที่สาธารณะอยู่เสมอ ความหมายต่อบุคคลก็เช่นเดียวกัน สิ่งที่มากกว่านั้นคือการให้ความหมายก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่ยกเว้นแม้กระทั่ง ‘ปรีดี พนมยงค์’ ผู้อภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ซึ่งได้รับการยอมรับ และเชิดชูอย่างสูง ในหมู่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการเมืองไทยร่วมสมัย
บทความ • บทสัมภาษณ์
Subscribe to ประชาธิปไตยสมบูรณ์
2
พฤษภาคม
2564
ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว
ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป