ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประยูร ภมรมนตรี

แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2564
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยนั้น มิได้มีความมุ่งหมายแต่เฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
Subscribe to ประยูร ภมรมนตรี