ประวัติศาสตร์
บทความ • บทสัมภาษณ์
24
กรกฎาคม
2567
บทสัมภาษณ์ประสบการณ์ของ อรุณ เวชสุวรรณ อดีตนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเดินทางไปสัมภาษณ์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ครั้งเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส ได้พูดคุยถึงประเด็นต่างๆ มากมายที่มีความเกี่ยวข้องกับอ. ปรีดีฯ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
ข่าวสาร • บทสัมภาษณ์
21
มีนาคม
2567
16 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 ที่มีการพูดถึงอยู่ ณ ขณะนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ เคยวิเคราะห์ไว้ที่ประวัติศาสตร์ไทยมีเรื่องของนิยายอยู่มากเป็นเพราะเหตุใด
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
23
ธันวาคม
2563
คติธรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตฺโต) ต่อชีวิตของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ และการศึกษาประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2563
นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าความทรงจำถึงนายปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยทัศนะทางการศึกษา เมื่อดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
ข่าวสาร
2
กรกฎาคม
2563
จากวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ถึง 24 มิถุนายน 2563 นับเนื่องเป็นเวลากว่า 88 ปีของการอภิวัฒน์สยาม เหตุการณ์ปฏิวัติของคณะราษฎรที่ทำให้ประเทศไทยเปลี่ยนผ่านจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)