ปรีดี พนมยงค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
กรกฎาคม
2566
ข้อเขียนชิ้นนี้ชี้แจงถึงรูปแบบของการปกครองสุขาภิบาลในประเด็นต่างๆ อาทิ ระเบียบการปกครองสุขาภิบาล กิจการของสุขาภิบาล การเงินของสุขาภิบาล และ คดีปกครองของสุขาภิบาล ในพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2458
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2566
วันหนึ่ง มีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น แม่ของปลายถูกตำรวจควบคุมตัวไป ดังเช่นที่พี่ชายของปลายถูกจับกุมเมื่อหลายวันก่อน ปลายจึงต้องตามแม่ไปด้วย คืนวันผ่านไปอย่างไร้อิสระ ปลายได้แต่ตั้งคำถามว่าทำไมแม่และพี่ชายจึงต้องมาถูกจับเช่นนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2566
การแบ่งแยกอำนาจบริหารบางอย่างออกจากรัฐบาลกลางเพื่อให้ท้องถิ่นจัดทำเอง (มัธยวิภาค: Décentralisation) จะอยู่ในอำนาจของคณะบุคคลที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ เลือกตั้งขึ้น โดยอาศัยระเบียบการปกครองท้องถิ่นที่อาจกระทำได้โดย (ก) การอนุญาตจากรัฐบาลกลางให้แก่ชุมนุมชนเป็นแห่งๆ มิใช่มีขึ้นตามสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นเอง และ (ข) การมีขึ้นโดยสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นๆ เอง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
กรกฎาคม
2566
เสมือนว่าสถานการณ์ต่างๆ จะคลี่คลายและสงบลง แต่แล้วกลุ่มรัฐประหาร 2490 กลับต้องการล้มรัฐบาล จึงบุกมาที่บ้าน หวังจับพ่อของปลาย แต่ไม่สำเร็จ พ่อของปลายหลบหนีไปได้และลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ ครอบครัวของปลายก็ต้องโยกย้ายถิ่นฐานด้วยเช่นกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2566
ภายใต้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศในแต่ละยุคสมัย การพยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ได้อาศัยการขับเคลื่อนของคณะบุคคลเป็นระยะๆ โดยความพยายามในอดีตได้สร้างแรงบันดาลใจต่อการพยายามในสมัยต่อมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2566
ประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยได้ดี คือคนในสังคมต้องพร้อมเป็นประชาธิปไตย แล้วการที่พร้อมก็คือมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขันไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม มีเงื่อนไขอยู่แค่ประชาชนกับทหารดังนั้นสิ่งที่ต้องทำก็คือ ทำให้ทหารเป็นของประชาชน อยู่กับประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ชุดคำอธิบายของ "การรัฐประหาร" โดยทั่วไปมักถูกนิยามว่าเป็นการใช้กำลังของกองทัพเข้าถอดถอนรัฐบาลเดิม ฉีกรัฐธรรมนูญ แต่สำหรับในปัจจุบันมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ดังปรากฏการวิเคราะห์และศึกษาขั้นตอนของการรัฐประหารผ่านรัฐธรรมนูญ (Constitutional coup) โดยเฉพาะในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2560
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์
30
มิถุนายน
2566
ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 109 ปีที่แล้ว วันที่ 30 มิถุนายน ในปี ค.ศ. 1914 ‘โมฮันดาส กรามจันทร์ คานธี’ หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ‘มหาตมะ คานธี’ ได้ถูกจับกุมคุมขังครั้งแรกหลังจากพยายามรณรงค์ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาวอินเดียในแอฟริกาใต้