ปรีดี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2568
สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) ผู้เป็นพระอาจารย์ของพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำคณะราษฎร และอภิวัฒน์สยาม 2475 ที่ไม่เพียงเปลี่ยนแปลงการเมืองเพียงเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพุทธศาสนาตามหลักประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มีนาคม
2568
ไทยสามารถรอดพ้นจากสถานะประเทศผู้แพ้สงครามด้วยยุทธศาสตร์ทางการเมืองและการทูตอันซับซ้อน ผ่านบทบาทของขบวนการเสรีไทย และการใช้ประโยชน์จากดุลอำนาจระหว่างประเทศโดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2568
บทสุดท้ายของบันทึกและบทขยายความของป๋วย อึ๊งภากรณ์ เกี่ยวกับปฏิบัติการสำคัญในขบวนการเสรีไทย อาทิ เป็นผู้ติดต่อกับขบวนการเสรีไทยในประเทศกับอังกฤษ การทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ และภารกิจทางการเมืองภายหลังสงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มีนาคม
2568
บันทึกปฏิบัติการเสรีไทยของป๋วย อึ๊งภากรณ์ ขณะฝึกในอินเดีย และมีภารกิจสำคัญคือ ติดตั้งสถานีวิทยุเพื่อติดต่อกับสหประชาชาติในไทย ท้ายที่สุดได้เดินทางจากอินเดียเข้าสู่ไทยแล้วถูกจับกุมได้ภายหลังการโดดร่มลงสู่แผ่นดิน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
มีนาคม
2568
ภายหลังที่ปรีดี พนมยงค์ เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจได้เกิดกรณีขัดแย้งขึ้นจึงมีการผ่อนปรนนโยบายตามที่รัชกาลที่ 7 ทรงวิจารณ์และหลังการยึดอำนาจของรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาได้มีการเสนอเรื่องสภาเศรษฐกิจเพื่อประนีประนอมขึ้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
20
มีนาคม
2568
บทความนี้จะเสนอหลักฐานประวัติศาสตร์หายากคือ เอกสารราชการของรัฐบาลในการสนับสนุนให้นายปรีดีเดินทางไปยังต่างประเทศ โดยสะท้อนการลดความขัดแย้งทางการเมืองหลังกรณีสมุดปกเหลืองและแสดงให้เห็นการต่อรองทางอำนาจ
1 ปี หลังกรณีสมุดปกเหลือง : ข้อมูลใหม่ 'จดหมายของราษฎรเรียกร้องให้ปรีดี พนมยงค์ กลับสยาม' (ตอนที่ 2)
19
มีนาคม
2568
1 ปี หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยจากการถูกกล่าวหาว่ามีแนวคิดคอมมิวนิสต์ ได้มีประชาชนหลายจังหวัด รวมถึงพระนครศรีอยุธยา ได้ร่วมลงชื่อในจดหมายถึงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งและรับใช้ชาติอีกครั้ง
1 ปี หลังกรณีสมุดปกเหลือง : ข้อมูลใหม่ 'จดหมายของราษฎรเรียกร้องให้ปรีดี พนมยงค์ กลับสยาม' (ตอนที่ 1)
18
มีนาคม
2568
1 ปี หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจหรือสมุดปกเหลืองต่อรัฐบาล ได้ถูกเกมการเมืองของฝ่ายพระยามโนปกรณ์นิติธาดากล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จนต้องออกจากสยามแต่มีราษฎรเรียกร้องให้กลับมารับราชการดังเดิม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
มีนาคม
2568
คำถามและคำตอบ ทั้งข้อเสนอ ข้อวิจารณ์ และมุมมองหลากหลาย จากงานเสวนา “อนาคตเส้นทางเศรษฐกิจ คลองไทย - คอคอดกระ - Landbridge จากวิสัยทัศน์ปรีดี พนมยงค์ สู่ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจโลกแห่งศตวรรษที่ 21”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์
12
มีนาคม
2568
“คลองกระ” หรือ “คอคอดกระ” เป็นโครงการที่มีศักยภาพในการพลิกโฉมเศรษฐกิจไทยให้กลายเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ระดับโลก แต่ยังคงมีประเด็นด้านอำนาจอธิปไตยและการลงทุนที่ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ