ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ผู้ประศาสน์การ

แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2565
คำบรรยายของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อปลัดจังหวัดและนายอำเภอจำนวนทั้งสิ้น 94 คน คณะผู้จัดการอบรม และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจร่วมเข้าฟัง โดยนายปรีดีได้เน้นย้ำความสำคัญของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญจะสำเร็จได้นั้น ล้วนต้องอาศัยความร่วมมือจากเหล่าข้าราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2565
ราว 5 ปีก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 ที่ถูกวิจารณ์ว่ามีกระบวนการร่างฯ เพื่อรักษาอำนาจให้แก่รัฐบาลของ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นหลัก
บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เคยกล่าวคำปราศรัยต่อธรรมศาสตร์บัณฑิตและและเนติบัณฑิต นักสันติภาพ เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2514 ณ ชานกรุงปารีส โดยมีใจความถึงเรื่องราวที่พึงระลึกอันเป็นความหลังเมื่อครั้งที่บัณฑิตทั้งหลายได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2565
โอวาทของผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2565
ณ ที่นี้จะกล่าวถึงการตั้ง “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” สถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย 
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
4
พฤศจิกายน
2563
การกลับมาอีกครั้งของละคอน "คือผู้อภิวัฒน์" ในช่วงเวลาที่ความสนใจต่อประวัติศาสตร์การเมือง ในช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กำลังอยู่ในกระแสของสังคม ท่ามกลางช่วงเวลาที่คุณค่าซึ่งผูกพันกับอุดมการณ์แบบอำนาจนิยมเริ่มถูกตั้งคำถามในทุกปริมณฑลของชีวิต
Subscribe to ผู้ประศาสน์การ