ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2566
วิบากกรรมทางการเมืองของ "คณะ ร.ศ. 130" เมื่อครั้งถูกล่ามโซ่ตีตรวนเสรีภาพในฐานะนักโทษทางความคิด พวกเขาต้องเผชิญการถูกกระทำในหลายรูปแบบ อาทิ การใช้แรงงานอย่างหนัก การถูกจองจำในห้องขังมืด ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ต้องโทษทนทุกข์ทรมานล่วงเลยกว่า 12 ปี 6 เดือน กับอีก 6 วัน ในเรือนจำ ยังคงเป็นห้วงยามที่ลุกโชนไปด้วยความหวังดังเช่นเมื่อวัยหนุ่ม
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
บทบาท-ผลงาน
17
กันยายน
2565
ภายหลังเดินทางกลับจากประเทศฝรั่งเศสหวนคืนสู่สยามอันเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ในปี พ.ศ. 2469 นายปรีดี พนมยงค์ เข้ารับราชการตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรมและเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนกฎหมาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องราวของคณะทูตไทยซึ่งปฏิบัติหน้าที่และใช้ชีวิต ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การเผชิญกับแรงกดดันทางการเมืองในโมงยามแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้อุบัติขึ้น ทำให้ข้าราชการทั้งหลายต้องตกอยู่ในสถานะถูกควบคุมตัว โดยนายฉลีได้เปิดเผยเรื่องราวทั้งหมดผ่านหลักฐานสำคัญ คือ ‘ตอบหัวข้อการสอบสวนข้าราชการที่กลับจากประเทสอังกริด’
บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2565
เกิดอะไรขึ้นในขณะที่คณะลิเกของสุชินกำลังจะถึงคิวออกอากาศในวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์อย่าง “ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492” ติดตามได้ในบทความของอาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นี้
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2565
โครงการขุดคลองเชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทยเป็นโครงการขนาดใหญ่โครงการหนึ่งที่ถูกพูดถึงในทุกยุคสมัยตลอดหน้าประวัติศาสตร์ไทยที่ผ่านมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤศจิกายน
2564
คุณผู้อ่านที่เคยศึกษาเรื่องราวของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ หรือ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ อาจจะนึกสงสัยครามครัน เมื่อเห็นการนำเสนอถึงการปฏิบัติหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของนายปรีดี
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว