ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยากัลยาณไมตรี

เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2567
การเสวนาในวาระ 100 ปีชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ เสน่ห์ จามริก ได้กล่าวถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 แสดงความสำคัญของหลักการเหนือตัวบุคคล การผนึกกำลังข้ามกลุ่ม ใช้ "หลักการปลดปล่อยสู่อิสระ" พัฒนาการเมือง เป็นจุดเริ่มต้นสิทธิเสรีภาพ อีกทั้งหลักการของคณะราษฎรที่ยังคงคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2564
ปรีดีได้ชวนให้ตั้งข้อสังเกตและพิจารณาถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีทั้ง “บทถาวร” และ “บทเฉพาะกาล” ว่า ต้องมีหลักในการพิจารณาว่าบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ นั้น
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2564
ในบันทึกของรู้ทชิ้นนี้ได้กล่าวถึง "นโยบายสันติภาพของรัฐบาล" ที่ท่านเป็นผู้เขียนขึ้นและรวบรวมไว้เป็นเอกสารทางการเล่มหนึ่งที่ชื่อว่า “LE SIAM PACIFISTE” (สยามสันติภาพ)
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2563
ความฝันถึงการมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศปรากฏขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ราวกึ่งศตวรรษ ดังมีคำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนางถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน ร.ศ. 103 เป็นตัวอย่าง
บทบาท-ผลงาน
16
กรกฎาคม
2563
ในปี 2526 หลังจาก ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร พระธิดาของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ได้อ่าน "ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์" หลังจากนายปรีดีถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว 'คุณท่าน' ได้ส่งจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
Subscribe to พระยากัลยาณไมตรี