ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยามานวราชเสวี

บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2565
นอกจากรัฐประหาร 2490 จะเป็นจุดเริ่มต้นบทบาททางการเมืองของกองทัพแล้วนั้น เหตุดังกล่าวยังได้รื้อฟื้นองคาพยพในระบอบเก่าให้หวนคืนสู่เวทีการเมืองอีกครั้ง ซึ่งแม้จะเคยถูกยกเลิกไปครั้นเมื่อเข้าสู่ระบอบใหม่ในสมัยคณะราษฎร แต่ทว่าภายหลังการรัฐประหารในครั้งนี้องค์กรดังกล่าวได้ถูกนำกลับมาผ่านรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2490 หรือ "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่มแดง" และอย่างเป็นทางการในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
Subscribe to พระยามานวราชเสวี