ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา

แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ ที่นำเสนอโต้แย้งงานของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี กรณีการโยนความผิดในการปิดสภาฯ ให้พระยาทรงสุรเดช และจากหลักฐานคำให้การ ชี้ไปในทางเดียวกันว่า พล.ท.ประยูร นั้นมีความนิยมในลัทธิเผด็จการทหารและลัทธินาซี
ชีวิต-ครอบครัว
3
มกราคม
2568
รายการชีวิตกับงานสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เผยแพร่ในวาระการอภิวัฒน์สยามเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 โดยสัมภาษณ์ทั้งประวัติชีวิตส่วนตัวของท่านผู้หญิงพูนศุขและส่วนที่เกี่ยวข้องกับนายปรีดี พนมยงค์ และการเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
24
ธันวาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องที่นายประยูรฯ เขียนไว้กรณีที่บิดเบือนเรื่องราวในช่วงก่อตั้งคณะราษฎรภายใต้แนวคิดนิยมเผด็จการนาซีและลัทธิเจ้าขุนมูลนายและได้มีการนำไปเสนอต่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2567
ความคิดเรื่องรัฐธรรมนูญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 10 ธันวาคม 2475 จากรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 ถึงวันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2475
บทบาท-ผลงาน
30
พฤศจิกายน
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ตุลาคม
2567
วาระครบรอบ 91 ปี กบฏบวรเดช ภายหลังเหตุการณ์การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและการหวนกลับของกบฏบวรเดช สะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่อนุสาวรีย์ที่ยังเป็นพื้นที่ความทรงจำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2567
29 กันยายน พ.ศ. 2476 วันกลับสู่มาตุภูมิอย่างสง่างามจากปารีสสู่กรุงเทพฯ ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หลังกรณีสมุดปกเหลือง และพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทำการรัฐประหารล้มล้างรัฐบาลของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 4 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ลงมติเป็นเอกฉันท์ว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมไม่มีมลทินเปนคอมมิวนิสต์ดังที่ถูกกล่าวหาจากเค้าโครงการเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 2 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ได้ทำการสอบสวนความคิดของหลวงประดิษฐมนูธรรมในด้านต่าง ๆ อาทิ การเมือง การคลัง และการโภคกิจ
Subscribe to พระยามโนปกรณ์นิติธาดา