พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
บทความ
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
มิถุนายน
2563
ความเป็นไม้เบื่อไม้เมาระหว่างรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับหนังสือพิมพ์สิ้นสุดลง เมื่อพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทํารัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ได้ให้ความสนับสนุนคณะรัฐประหารเป็นอย่างดี และแสดงความหวังเป็นอย่างมากว่า รัฐบาลชุดใหม่คงจะได้ตระหนักถึงสถานะและปัญหาของการดําเนินทุนหนังสือพิมพ์ ในฐานะสื่อมวลชนในสังคมประชาธิปไตยมากกว่ารัฐบาลชุดที่แล้ว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2563
เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เวลา 17.15 น. โปรดเกล้าฯ ให้พระยามโนปกรณ์, พระยาศรีวิสาร, พระยาปรีชาชลยุทธ, พระยาพหล, กับหลวงประดิษฐมนูธรรม มาเฝ้าฯ ที่วังสุโขทัย มีพระราชดํารัสว่า อยากจะสอบถามความบางข้อ และบอกความจริงใจ ตั้งแต่ได้รับราชสมบัติ ทรงนึกว่า ถูกเลือกทําไม บางทีเทวดาต้องการให้พระองค์ ทํา อะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย