ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาฤทธิอัคเนย์

บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 5 ชี้ให้เห็นว่ามีการบิดเบือนเรื่องสำคัญคือ ได้ล้มเลิกโครงการเศรษฐกิจพลิกแผ่นดินของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม และได้ปรับปรุงรัฐธรรมนูญ และเลิกคําว่ากรรมการราษฎร (แทนเสนาบดี) มาเป็น “รัฐมนตรี” ซึ่งจากข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ไม่เป็นความจริงทั้ง 2 ประการ
บทบาท-ผลงาน
19
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 4 ชี้ให้เห็นว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนเรื่องข้อเท็จจริงเรื่องการเป็นหัวหน้าคณะราษฎรของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
6
มิถุนายน
2567
บันทึกฉบับ 6 มีนาคม 2526 ของนายปรีดี พนมยงค์ฯ แสดงสัจจะทางประวัติศาสตร์ก่อนการอภิวัฒน์ 2475 จากหลักฐานเอกสาร (authentic documents) เพื่อโต้แย้งมายาคติ 2475 ใน 2 เรื่องได้แก่ รัชกาลที่ 7 จะพระราชทานธรรมนูญฯ และกฎหมายเทศบาลเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2567
การฟ้องคดีความเรื่องหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าของนายประยูร ภมรมนตรีต่อกระทรวงศึกษาธิการและห้างหุ้นส่วนจํากัดบรรณกิจเทรดดิ้ง เริ่มฟ้องคดีฯ ในปี 2522 และสิ้นสุดลงด้วยการประนีประนอมในปี 2525 การฟ้องร้องคดีฯ เพื่อการปกป้องเกียรติของนายปรีดี พนมยงค์ และยืนยันข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์สมัยคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 109 ปีที่แล้ว วันที่ 30 มิถุนายน ในปี ค.ศ. 1914 ‘โมฮันดาส กรามจันทร์ คานธี’ หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ‘มหาตมะ คานธี’ ได้ถูกจับกุมคุมขังครั้งแรกหลังจากพยายามรณรงค์ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาวอินเดียในแอฟริกาใต้
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
Subscribe to พระยาฤทธิอัคเนย์