ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พริษฐ์ วัชรสินธุ

แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2567
ช่วงท้ายงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย เปิดให้ผู้เข้าร่วมรับชมงานเสวนาถามคำถามและวิทยากรภายในงานตอบคำถาม ข้อสงสัยประเด็นต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2567
ผู้ร่วมเสวนาในเวที PRIDI Talks #25 กล่าวถึงความคาดหวังให้สมาชิกวุฒิสภาชุดใหม่มีความเชื่อมโยงกับประชาชนมากขึ้น ใช้อำนาจอย่างรับผิดชอบ และผลักดันการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2567
พริษฐ์ วัชรสินธุ วิพากษ์วิจารณ์บทบาทวุฒิสภาชุดเก่าในการแทรกแซงการเมือง ขัดขวางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เรียกร้องให้ส.ว.ชุดใหม่ไม่ผูกมัดอนาคตประเทศ ส่งเสริมประชาธิปไตยและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
14
พฤษภาคม
2567
‘สถาบันปรีดี พนมยงค์’ ได้ร่วมกับ ‘มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’ จัดงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2565
เสวนา PINTO TALK 8 : 46 ปี 6 ตุลา 19 ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ “เหลียวหลัง 6 ตุลา แลหน้าสังคมไทย” พร้อมกันนี้ ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล ชวนคุย ชวนคิด ในหัวข้อ “A Reflection on the Moment of Silence”
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2565
สัจธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่จะต้องมีการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ประชาธิปไตยจึงต้องเปิดกว้างเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนา สาระสำคัญของการเข้าสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงเป็นการทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับกระบวนการพัฒนา
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
Subscribe to พริษฐ์ วัชรสินธุ