ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พึ่ง ศรีจันทร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2566
กล่าวขานถึงขบวนการเสรีไทยสายแพร่ ผู้มีบทบาทสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เอกราชของไทย แต่มิได้ถูกจดจำและบันทึกไว้อย่างแพร่หลายนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
ธันวาคม
2565
เหตุการณ์เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ในทศวรรษ 2480 ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายสวงษ์ เสมดี' ศึกษาธิการประจำอำเภอแม่สอด ซึ่งปรากฏภาพบรรยากาศภายในจังหวัดตากที่สะท้อนถึงการเคลื่อนไหวและพลวัตทางสังคม
บทบาท-ผลงาน
29
พฤศจิกายน
2565
ห้วงยามอันสำคัญเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กลายเป็นเรื่องราวที่ควรจารึกไว้ถึงภารกิจที่นำไปสู่สันติภาพของขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังได้ก่อเกิดประวัติศาสตร์ของภูมิภาคและท้องถิ่นในหลายจังหวัด ดั่งเช่นอนุสรณ์แห่งความทรงจำ "ถนนเสรีไทย" ณ จังหวัดตาก เพื่อเป็นเกียรติแด่วีรชนและเล่าขานความหาญกล้าไปยังอนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
บทบาท-ผลงาน
28
พฤศจิกายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' หนึ่งในผู้ร่วมเดินทางได้จรดปลายปากกาเขียนบอกเล่าเรื่องราวการเยือนถิ่นประวัติศาสต์อันปรากฏร่องรอยของขบวนการเสรีไทยในพื้นที่จังหวัดตาก ณ หมู่บ้านชุมชนเล็กๆ คือ "ตรอกบ้านจีน" พร้อมด้วยชีวประวัติย่อของ 'นายหมัง สายชุ่มอินทร์' คหบดีผู้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าเสรีไทยแห่งเมืองตาก
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2565
สงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มเกิดขึ้นในทวีปยุโรปเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๘๒ โดยกองทัพเยอรมันได้บุกเข้าโจมตีโปแลนด์ และได้รับชัยชนะในประเทศภาคพื้นยุโรปอย่างรวดเร็ว จากนั้นได้โจมตีประเทศอังกฤษทางอากาศ เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๓ และบุกเข้าสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๔ ขณะนั้นสหรัฐอเมริกายังเป็นกลางอยู่
บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2564
ขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น และ เสรีไทยในจังหวัดตาก
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
Subscribe to พึ่ง ศรีจันทร์