ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ภาพยนตร์

ศิลปะ-วัฒนธรรม
6
กันยายน
2566
เชิญชวนผู้อ่านย้อนกลับไปพิจารณาถึงดีเบตนโยบายและวิสัยทัศน์ต่อประเด็นเรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย” ผ่านคำถามทั้งจากผู้จัดและผู้เข้ารับชม เมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2566 โดย สมาคมการค้าส่งเสริมอุตสาหกรรมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤษภาคม
2566
จากการต่อสู้ของชาวบ้านบางกลอยและหมู่บ้านใจแผ่นดินที่ต้องทัดทานกับอำนาจของรัฐ จนถึงกรณีการบังคับสูญหายบิลลี่ สู่ “Behind The Mount หลังเขา” การแสดง art performance ในรูปแบบ devising สื่อความหมายและชวนตั้งคำถามถึงความรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อชีวิตของใครหลายๆ คนที่รัฐและเจ้าหน้าที่รัฐพึงรับผิดชอบ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
15
พฤษภาคม
2566
เส้นทางการต่อสู้ของภาพยนตร์ไทยที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน ข้อกำหนดกฎหมาย ขั้นตอนการพิจารณาความเหมาะสม (rating) ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการผลิตผลงานในนามของศิลปะที่ถ่ายทอดความคิดและสื่อสารต่อผู้ชมเป็นไปอย่างมีข้อจำกัด
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
เมษายน
2566
ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ระบบเศรษฐกิจที่ยึดโยงต่อการเมือง และโครงสร้างทางสังคม อันนำไปสู่ส่วนต่อขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้ถ่างกว้างมากขึ้น โดยวิเคราะห์ผ่านวรรคทองของภาพยนตร์ที่ว่า “คนรวยไม่ได้กินเพื่ออิ่ม แต่กินเพื่อรักษาสถานะทางชนชั้นของตน” ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นสังคมไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
มีนาคม
2566
กิจวัตรประจำวันของนายปรีดี พนมยงค์ กับความโปรดปรานในการรับชมภาพยนตร์แนวสารคดีประวัติศาสตร์ หากการรับชมนั้นนายปรีดียังได้ฝากทรรศนะวิจารณ์ไว้ได้อย่างแยบคาย โดยเฉพาะเมื่อนายปรีดีได้รับชมภาพยนตร์แนวบุกเบิกตะวันตก
ศิลปะ-วัฒนธรรม
6
มีนาคม
2566
"เธอกับฉันกับฉัน" (YOU & Me & ME) บอกเล่าเรื่องราวชีวิตของหนุ่มสาวในวัยเริ่มแรกแย้มผลิบาน กับชีวิตที่อ่อนขวบปีซึ่งต้องเผชิญหน้ากับความสับสนในชีวิตที่ถาโถม ระหว่างความรัก สายสัมพันธ์ของพี่น้อง และรอยแตกร้าวภายในครอบครัว
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึงภาพยนตร์แนวมนุษยนิยมโดยร้อยโยงกับการตั้งคำถามและค้นหาคำตอบต่อสัจธรรมแห่งชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสัมพันธ์ผู้คนเข้าด้วยกันภายใต้ภาวะความเป็นสมัยใหม่ที่แวดล้อมไปด้วยพลวัตทางสังคมและการขับเคลื่อนอย่างไม่หยุดยั้ง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
11
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึงเทศกาลภาพยนตร์โลกแห่งกรุงเทพ ครั้งที่ 15 World Film Festival of Bangkok 2022 : Return to Cinema บอกเล่าการกลับมาของเทศกาลภาพยนตร์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
ตุลาคม
2565
ญี่ปุ่นเป็นชาติที่มีภาพลักษณ์ชัดเจนของคนรุ่นใหม่ ซึ่งมีวินัยต่อการใช้ชีวิตที่วิ่งสวนทางกับอุดมคติแบบสุขนิยม เมื่อประเทศเข้าสู่ฐานะการเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจจนได้สมญา เสือแห่งเอเชีย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
กรกฎาคม
2565
ความสำเร็จของ “กรุงเทพกลางแปลง” เทศกาลหนังกลางแปลงที่จะถูกจัดขึ้นตั้งแต่ วันที่ 7-31 กรกฎาคม 2565 โดยความร่วมมือของภาครัฐ (กรุงเทพมหานคร) และเอกชน
Subscribe to ภาพยนตร์