รัชกาลที่ 6
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
บทความ • ศิลป-วัฒนธรรม
1
ธันวาคม
2565
"คินีและทูรันโดต์" บอกเล่าเรื่องราวเจ้าหญิงทูรันโดต์ผู้เย็นชาและไม่ศรัทธาในความรัก การจะอภิเษกกับเจ้าหญิงต้องถูกทดสอบโดยตอบปริศนา 3 ข้อ หากตอบข้อใดผิดชายผู้นั้นจะต้องถูกบั่นศีรษะ เนื้อเรื่องดำเนินไปอย่างซ่อนเร้นนัยที่แอบแฝงไว้ และชวนให้ผู้ชมได้ตีความผ่านมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
กันยายน
2565
ภายหลังเดินทางกลับจากประเทศฝรั่งเศสหวนคืนสู่สยามอันเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ในปี พ.ศ. 2469 นายปรีดี พนมยงค์ เข้ารับราชการตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรมและเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนกฎหมาย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2565
หนึ่งชีวิตที่ผ่านเรื่องราวนานัปการซึ่งเป็นหนึ่งบันทึกในบรรทัดประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาทิเช่น บทบาทสำคัญในปฏิบัติการเสรีไทยสายอังกฤษที่ทำให้แผ่นดินสยามคงไว้ซึ่งเอกราช จวบเมื่อแผ่นดินรัชกาลที่ 9 ภายหลังเกิดการรัฐประหาร 2490 ท่านชิ้นได้เดินทางลี้ภัยออกนอกประเทศ และกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนอีกครั้งใช้ชีวิตอยู่ที่ "สวนเสมา" สงบ เย็น และเป็นประโยชน์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องราวของคณะทูตไทยซึ่งปฏิบัติหน้าที่และใช้ชีวิต ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การเผชิญกับแรงกดดันทางการเมืองในโมงยามแห่งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้อุบัติขึ้น ทำให้ข้าราชการทั้งหลายต้องตกอยู่ในสถานะถูกควบคุมตัว โดยนายฉลีได้เปิดเผยเรื่องราวทั้งหมดผ่านหลักฐานสำคัญ คือ ‘ตอบหัวข้อการสอบสวนข้าราชการที่กลับจากประเทสอังกริด’
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to รัชกาลที่ 6
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"