ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน” โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
กรกฎาคม
2563
88 ปีนับจาก พ.ศ. 2475 จนถึง 2563 สามัญชนอยู่ตรงไหนในประชาธิปไตยไทย? คำถามข้างต้นหาคำตอบได้จากหลายแง่มุม ตั้งแต่กฎหมายสูงสุดของประเทศซึ่งแสดงที่ทางของผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่สะท้อนแนวคิดการอยู่ร่วมกัน ไปจนถึงสิ่งปลูกสร้าง
23
มิถุนายน
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์รวบรวมหนังสือน่าอ่านประจำเดือนมิถุนายน ชวนผู้อ่านรำลึกวาระครบรอบ 88 ปี เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)
บทบาท-ผลงาน
18
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต ได้ร่วมอภิปราย ความตอนหนึ่งดังนี้ ความจริงการเสวนาในวันนี้มีสองมิตินะครับที่กําหนดเป็นหัวข้อ มิติทางประวัติศาสตร์และมิติทางรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2745 พี่สุพจน์ [ด่านตระกูล] ได้พูดถึงมิติทางด้านประวัติศาสตร์ไปในรายละเอียด ผมจะขอให้ข้อสังเกตบางประการทางด้านมิติรัฐธรรมนูญฉบับแรก 
บทสัมภาษณ์
17
มิถุนายน
2563
โคทม อารียา เป็นผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน สัมภาษณ์นายปรีดี.
2
มีนาคม
2563
คำอธิบายกฎหมายปกครอง คำอธิบายกฎหมายปกครองนี้ประมวลขึ้นจากคำอธิบายของปรีดีในฐานะผู้บรรยายเนติบัณฑิต ผู้เขียน : หลวงประดิษฐ์มนูธรรม และพระสารสาส์นประพันธ์ พิมพ์ที่ : - พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2475 จำนวนหน้า : 156 หน้า ISBN : - สารบัญ - https://pridi.or.th/sites/default/files/pdf/pridibook188.pdf
2
มีนาคม
2563
ประชาธิปไตย และ รัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ หนังสือเล่มนี้นายปรีดี พนมยงค์ บอกเล่าเนื้อหาแนวคิดประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้น โดยสัมพันธ์กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ผู้เขียน : ปราโมทย์ พึ่งสุนทร พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์นีติเวชช์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2517 จำนวนหน้า : 49 หน้า ISBN : - สารบัญ
1
มีนาคม
2563
ปรีดี พนมยงค์ วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 หนังสือเล่มนี้นายปรีดี พนมยงค์ เขียนขึ้นมาเพื่อวิพาษ์วิจารณ์ต่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2517 ซึ่งปรีดีมีข้อสังเกตหลายประการด้วยกัน ผู้เขียน : ปรีดี พนมยงค์ พิมพ์ที่ : - พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : - จำนวนหน้า : 139 หน้า ISBN : - สารบัญ
Subscribe to รัฐธรรมนูญ