ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

บทบาท-ผลงาน
29
ตุลาคม
2563
ภายหลังที่ได้ตรากตรํารับใช้ชาติบ้านเมืองในภารกิจอันมีความสําคัญยิ่งมาตลอดสงคราม เป็นเวลาถึง 4 ปี จนกระทั่งสันติภาพ ตลอดจนเอกราชและอธิปไตยของประเทศไทยได้กลับคืนมา ท่านรัฐบุรุษอาวุโสฯ มีความชอบธรรมที่จะพักผ่อนทั้งกายและใจ โดย “รับปรึกษากิจราชการแผ่นดิน” ตามที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการฯ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2488  การณ์มิได้ไปเป็นเช่นนั้น ความจริงปรากฏว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2489-2490 ท่านปรีดี พนมยงค์ กลับต้องรับภารกิจที่หนักหน่วง และต้องเผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยประสบมาก่อนในอดีต 
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2563
จากอุทาหรณ์ในประวัติศาสตร์ นายปรีดีเห็นได้ว่า ในยุโรปนั้นระบบประชาธิปไตยโดยวิธีสันติเป็นไปได้โดยเงื่อนไข 2 ประการ คือ...
บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
แนวคิด-ปรัชญา
21
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้สรุปหลักการร่างรัฐธรรมนูญไว้ 2 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้ข้อสังเกตที่น่าสนใจหลายประการในการจัดทำรัฐธรรมนูญ พร้อมทั้งเกร็ดประวัติศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
Subscribe to รัฐธรรมนูญ