ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2563
28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม นายปรีดี พนมยงค์ เป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้กล่าวถ้อยคำที่แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎรด้วยความเข้มขลัง ไว้ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก
บทสัมภาษณ์
29
กันยายน
2563
ปรัชญาทางการเมืองของข้าพเจ้า คือ สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย (Scientific Democratic Socialism) เพราะว่าประชาธิปไตยและสังคมนิยมควรมีพื้นฐานเป็นวิทยาศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2563
อ่านข้อเขียนของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ที่เรียบเรียงจากการปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2559 หัวข้อ "สังคมที่เป็นประชาธิปไตย: คุณค่า ความหวัง"
11
กันยายน
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์ เปิดตัวซีรีส์หนังสือประจำเดือนกันยายน-ตุลาคม โดยรวบรวมหนังสือประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่โรงเรียนไม่ได้สอนทั้ง 15 เล่ม มาให้ผู้อ่านเรียนรู้และทำความเข้าใจเหตุการณ์และบุคคลสำคัญในอดีต ที่อาจไม่เคยถูกพูดถึงในหน้าตำราเรียนประวัติศาสตร์ไทยผ่านหนังสือทั้ง 4 ชุด ดังนี้  
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2563
กษิดิศ อนันทนาธร   ในห้วงบรรยากาศแห่งความร้อนแรงทางการเมืองของการ ‘รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์’ กับการ ‘ชังชาติ’  เราได้เห็นมวลอาณาราษฎรแสดงความจงรักภักดีอย่างแตกต่างกันออกไป บ้างจงรักอย่างห้อยโหน บ้างจงรักอย่างสุจริตใจ บ้างจงรักทักท้วงด้วยความปรารถนาดีที่จะให้สถาบันพระมหากษัตริย์สถิตสถาพร ยืนยงคงอยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยแห่งสยามรัฐสีมาตราบเท่ากัลปาวสาน
บทบาท-ผลงาน
5
กันยายน
2563
บันทึกความทรงจำของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต ผู้เป็นหลานชายของนายปรีดี พนมยงค์ กล่าวถึงชีวิตธรรมดาของนายปรีดีในความทรงจำวัยเด็ก และประเมินความล้มเหลวผิดพลาดของนายปรีดีไว้ได้อย่างน่าสนใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
กรกฎาคม
2563
  ปรีดี พนมยงค์ ชื่อท่านคง ในดวงใจ ประชาชน ทั่วเขตไทย มิมีใคร ลืมปรีดี ท้าวความ ตามประวัติ รู้แน่ชัด ท่านผู้นี้ กอบกู้ ศักดิ์และศรี ทูลขอมี รัฐธรรมนูญ ใครว่า คนทําดี ย่อมได้ดี มาเกื้อกูล แม้ชนยกย่อง เทิดทูน ได้รัฐธรรมนูญ แล้วกลับไม่อินัง โศกเอย ท่านคงโศกเศร้า ปวดใจร้าว แทบภินท์พัง ห่วงไทย ด้วยความหวัง เชิดชูตรา ค่าของคน จิตใจ ท่านดั่งเพชร มิขามเข็ด ต่อเล่ห์คน ปรีดี ยังเวียนวน สะกิดใจ ไทยทั้งเมือง   *วรรณา สวัสดิ์ศรี เขียนเมื่อปี 2527
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
กรกฎาคม
2563
ลมเอยช่วยพัดสายธาร พาเอาอังคาร กระจายความคิดอ่านกว้างไกล ลอยไปโอบเอื้อเพื่อไทย เกิดคลื่นลูกใหม่ เกิดความคิด กล้าทํา ให้กล้าเปลี่ยนแปลงกล้านํา กล้าสู้อธรรม เฉกเช่นบรรพบุรุษไทย ขอท่านคุ้มครองป้องภัย ให้ลูกหลานไทย ก้าวเดินจําเริญรอยตาม
Subscribe to รัฐธรรมนูญ