ราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2567
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
สิงหาคม
2567
คำว่า “เล่นการเมือง” ในมุมมองของสังคมไทยมักถูกนำมาใช้งานในความหมายที่กว้างขวาง จนทำให้ก่อเกิดการตีความที่ผิดเพี้ยนไปมากมายต่อผู้ที่ไม่ได้มีบทบาทเป็นนักการเมืองโดยตรง เพียงแค่เขาเหล่านั้นสนใจความเป็นไปของการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2567
ในตอนนี้กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้กล่าวถึงการลาออกจากตำแหน่งผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของนายปรีดีที่ส่งผลต่อเหล่าเกษตรกรที่เป็นฐานเสียงของกลุ่มและความสำคัญของนายปรีดีที่มีความสนใจในด้านการเกษตรอย่างมา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2567
รัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่กระทบประชาชน โดยมุ่งตอบสนองด้านการเงิน เพิ่มภาระภาษี แทนการแก้ปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2563
เมื่อ พ.ศ. 2514 นายปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวถึงข้อสังเกตเกี่ยวกับเอกภาพของชาติ ในประเทศที่มีความแตกต่างกันทางเชื้อชาติ/ภาษา/ศาสนา โดยยกอุทาหรณ์ในอดีตที่เคยเกิดขึ้นทั้งในต่างประเทศและในประเทศเองมาให้ 'อนุชน' พิจารณา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ราษฎร
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา