ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ลี้ภัยการเมือง

บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2565
ผู้เขียนได้บอกเล่าเรื่องราวประสบการณ์ทางการเมืองของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในประเทศอังกฤษ โดยมีที่มาซึ่งเกิดขึ้นขณะที่นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข ต้องระเห็จระเหินไปยังต่างแดน ทว่า ระหว่างการเดินทางในครานั้นก็ได้นำพาให้ทั้งสองไปพบเจอกับ 'เจมส์ แม็กซ์ตัน' (James Maxton) สมาชิกสภาอังกฤษแห่งพรรคแรงงานอิสระ (Independent Labour Party: ILP)
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2565
1 ปี ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม แม้จะไม่มีการลั่นกระสุนสักนัดแต่ก็ใช่ว่าการเมืองภายในจะราบรื่น ความขัดแย้งของรัฐบาลใหม่ที่เกิดจากการประนีประนอมกันนั้นค่อยก่อตัวจากคลื่นใต้น้ำจนปะทุเด่นชัดจากนโยบายการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างนโยบายของฝ่าย ‘พระยามโนปกรณ์นิติธาดา’ และ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” หรือที่เรียกกันว่า “สมุดปกเหลือง” ของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’[1] ที่ได้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีเจตนารมณ์ที่จะทำให้สยามเป็นเอกราชทางด้านเศรษฐกิจ และแก้ไขปัญหาความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจใ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2565
ศ.ดร.วิเชียร วัฒนคุณ' เล่าถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่เดินทางไปที่ “ยูเนสโก” ณ กรุงปารีส ในการเป็นคณะผู้แทนไทยเพื่อดำเนินการจัดการแถลงชี้แจงต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อทบทวนมติและขอให้เพิ่มชื่อ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในบัญชีรายการที่ได้รับการคัดเลือกเสนอชื่อให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก .
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2565
ภาพจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในสังคมมักจะนึกถึงบทบาทนำในคณะราษฎรและเสรีไทย แต่ในมุมส่วนตัวของบรรดาลูกศิษย์และคนใกล้ชิด นายปรีดีคือครูผู้ใจดี เป็นผู้ใหญ่ที่เปิดกว้างต่อคนรุ่นใหม่ แม้ไม่เคยสนทนาโดยตรงแต่ทั้งภาพจำทางสังคมและการเล่าสู่กันฟัง มีหลายคนที่ชื่นชมนายปรีดี เช่น 'บุญมี เมธางกูร'
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กันยายน
2564
ชีวประวัติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ กับความเคลื่อนไหวของ สายการบินแห่งชาติปากีสถาน อาจไม่มีใครคาดคิดว่าจะมีส่วนเชื่อมโยงกัน หากแท้จริงแล้ว การโดยสารเที่ยวบินของสายการบินแห่งนี้ ถือเป็นการเดินทางครั้งสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 7 เลยทีเดียว
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2564
หลังจากหลบซ่อนตัวอยู่เป็นเวลา 5 เดือน นายปรีดี พนมยงค์ จึงตัดสินใจลี้ภัยออกจากสยามประเทศอีกครั้ง โดยมอบหมายให้ท่านผู้หญิงพูนศุขจัดหาลู่ทางในการหลบหนีและขอความช่วยเหลือจากมิตรผู้ซื่อสัตย์ทั้งชาวไทยและชาวจีนซึ่งได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีในเรื่องของการเตรียมที่เตรียมทาง แต่ทว่าไม่ได้ราบรื่นไปเสียทั้งหมด เพราะหนทางยาวไกลนั้นเกิดอุปสรรคนานานัปการให้คอยแก้ไข ให้คอยลุ้นอยู่ตลอดกว่าจะถึงปลายทางเกือบไม่รอดหลายต่อหลายครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
7
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวในคืนหลังจากเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ไม่ว่าจะเป็นหนทางหลบหนี, มิตรสหายที่ได้ทำการช่วยเหลือ หรือ แม้กระทั่งเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่ตัวท่านเองได้ประสบพบเจอ
ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
บทสัมภาษณ์
11
พฤศจิกายน
2563
หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ ย้ายมาพำนักในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2513 ก็มีฝ่ายปรปักษ์ของเขา รื้อฟื้นเรื่องราวต่าง ๆ มาโจมตีอย่างไม่ขาดสาย และนายปรีดีก็ฟ้องจนชนะในทุกคดีความ
Subscribe to ลี้ภัยการเมือง