ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วรรณกรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
มิถุนายน
2567
“ฟ้าจรดทราย” เป็นผลงานนวนิยายเรื่องที่ 2 ของ โสภาค สุวรรณ และในปี 2567 “ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล” เป็นละครเวทีที่ได้รับความนิยมของเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ โดยเป็นผลงานกำกับของถกลเกียรติ วีรวรรณ มีรอบการแสดงจำนวน 55 รอบ มีที่นั่ง 1,512 ต่อรอบและจัดแสดงระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน-10 สิงหาคม 2567 ณ โรงละครเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
พฤษภาคม
2567
มนัส จรรยงค์ คือ "ราชาเรื่องสั้น" ชาวเพชรบุรี มีผลงานกว่า 1,000 เรื่อง สะท้อนวิถีชีวิตคนไทยอย่างแท้จริง เช่น "ครูแก" การจัดงานรำลึกถึงครั้งนี้ เป็นการเชิดชูเกียรติและสานต่อมรดกทางวรรณกรรมไทยที่มีคุณค่าสูง
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
เมษายน
2567
นวนิยายเรื่อง "มาลัยสามชาย" ใช้ตัวละครผู้หญิงเป็นเครื่องมือเพื่อสะท้อนมิติทางการเมืองที่ซ่อนอยู่ในความเป็นไทย โดยตัวละครผู้หญิงเอง ก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองในการกำหนดตัวตนความเป็นไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน นวนิยายเรื่องนี้จึงไม่เพียงกล่าวถึงความรัก แต่ยังสะท้อนมิติทางการเมืองอย่างแยบยลผ่านตัวตนของตัวละครผู้หญิง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
มีนาคม
2567
บทความนี้ใช้การเดินทางด้วยรถราง เป็นสัญลักษณ์แทนช่วงเวลาหนึ่งในชีวิต ทั้งความหลังอันแสนหวานของความรัก และความสูญเสียที่ต้องผ่านพ้นไป สถานีปลายทางจึงเป็นสัญลักษณ์แทนจุดจบของช่วงเวลาหนึ่ง แต่ก็เป็นการเริ่มต้นใหม่พร้อมด้วยความหวังอีกด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
แนวคิด-ปรัชญา
31
กรกฎาคม
2566
ความขัดแย้งอย่างเป็นปัญหาหนักหน่วงในสังคมและจุดยืนแบบต่างโลก ระหว่างผู้ที่ศรัทธาอดีตกับผู้ที่ศรัทธาสิ่งที่มาใหม่ในปัจจุบันและในอนาคต เกิดขึ้นได้เพราะความรู้เพื่อสังคมส่วนรวมที่สามารถสร้างสรรค์ขึ้นได้โดยทุกผู้คนในสังคม
Subscribe to วรรณกรรม